Page 36 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 36

27


                       3.  การกําหนดขอบเขตของเรื่องที่จะพูด  ผูพูดตองมีเวลาเตรียมตัวในการพูด  ผูพูดจึงควร
               พิจารณาเรื่องที่จะพูดวา ตนเองมีความรูในเรื่องนั้น ๆ เพียงใด หากไมมีความรูเพียงพอก็ควรหาความรู

               เพิ่มเติม และกําหนดขอบเขตของเรื่องใหเหมาะกับผูฟง เชน เปนเด็กเล็ก เปนวัยรุน หรือเปนผูใหญ เปนตน
                       4.  การรวบรวมเนื้อหาที่จะพูด การพูดใหผูอื่นฟง ผูพูดตองเตรียมรวบรวมเนื้อหาใหดื เพื่อผูฟง

               จะไดรับประโยชนมากที่สุด การรวบรวมเนื้อหาอาจทําไดโดยการศึกษา คนควา การไตถามผูรูการสัมภาษณ

               และอาจใชอุปกรณชวย เพื่อใหผูฟงเขาใจไดงายขึ้น
                       5.  การทําเคาโครงลําดับเรื่องที่จะพูด  เพื่อใหการพูดเปนไปตามลําดับขั้นตอนไมสับสน ผูพูด

               ควรทําโครงเรื่อง ลําดับหัวขอใหดี เพื่อกันการหลงลืมและชวยใหเกิดความมั่นใจในการพูด

                       6.  การฝกซอมการพูด ผูพูดควรหาเวลาฝกซอมการพูดของตนเสียกอน เมื่อถึงเวลาพูดจะไดพูด
               ดวยความมั่นใจ  ในการฝกซอมนั้นควรคํานึงถึงบุคลิกลักษณะ  ทายืนหรือนั่งกิริยาอาการ  การใชเสียง

               การใชสายตา ถามีผูฟงอาจจะชวยติชมการพูดในขณะฝกซอมได

               กิจกรรมที่  4
                       1.  ใหผูเรียนฟงการสนทนาทางโทรทัศน รายการที่สนใจและเปนรายการเดียวกัน เชน รายการ

               สนทนาปญหาบานเมือง รายการตรงประเด็น ฯลฯ เมื่อฟงแลวใหผูเรียนบันทึกการพูดของผูดําเนินรายการ
               และผูรวมสนทนา วามีวิธีการพูดอยางไร ภาษาที่ใชเหมาะสมหรือไม มีการพูดกาวราวหรือเสียดสีผูอื่นบาง

               หรือไม  ฯลฯ  แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในวันพบกลุม  หรือตัดตอขอความจาก

               สื่อสิ่งพิมพมาอานและใหวิจารณขอความนั้น ๆ ก็ได
                       2.  ใหผูเรียนสังเกตการพูดใหขาวของบุคคลสําคัญและนักการเมืองแตละคนทางสถานีวิทยุและ

               โทรทัศน แลวพิจารณาวาการใหขาว หรือการแสดงความคิดเห็นนั้นควรเชื่อหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด
               แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน  เมื่อมีโอกาสพบปะกันหรือในวันพบกลุมผูเรียน อาจจะฟง

               การพูดแสดงทรรศนะของนักการเมืองจากเทปบันทึกเสียงแลวนํามาสนทนากันก็ได

                       3. สมมติเหตุการณใหผูเรียนออกมาสนทนากันทางโทรศัพท ใหเพื่อน ๆ วิจารณ


                       การพูดแสดงความคิดเห็น


                       การพูดแสดงความคิดเห็นเปนลักษณะการพูดที่จะใชในการปรึกษาหารือกันในกลุมยอย
               เพื่อหาแนวทางในการแกปญหา เชน ปญหาการเรียน ปญหาในการดําเนินชีวิต ปญหาของชุมชนพื้นฐาน

                       การแสดงความคิดเห็นเปนการใชทักษะการฟง  การอาน  การพูดและการคิดใหสัมพันธกัน

                 ตองอาศัยการฝกฝนใหเกิดความชํานาญ  เพราะการพูดแสดงความคิดเห็นตองใชทั้งความรู  ความคิด
               เหตุผลหรือหลักการ ทฤษฎีตาง ๆ  หลายอยางประกอบกัน  ความคิดนั้นจะถูกตองเหมาะสม  มีคุณคา

               นาเชื่อถือ การพูดแสดงความคิดเห็นจึงตองใชความรอบคอบใหเหตุผล มีใจเปนกลาง บริสุทธิ์ใจ ไมมีอคติ

               มีการฝกฝนจนเกิดความชํานาญรับผิดชอบในสิ่งที่พูด นี่เปนหลักของการพูดแสดงความคิดเห็น
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41