Page 39 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 39

30


               หรือเปนคณะก็ได  และผูฟงอาจจะเปนคน ๆ เดียวหรือกลุมคนก็ได การพูดชี้แจงรายละเอียดมีขั้นตอนและ
               วิธีการ ดังนี้

                       1.  ตองศึกษาทําความเขาใจปญหา ขอสงสัย เหตุการณความตองการและสถานการณของบุคคล

               กลุมบุคคลที่จะชี้แจงเปนอยางดี

                       2.  พูดเทาความถึงปญหา ขอสงสัย ความตองการของผูฟง คําชี้แจง เพื่อเปนหลักฐานที่จะนําเขาสู

               การชี้แจงรายละเอียด
                       3.  เริ่มชี้แจงรายละเอียดหรือเนื้อเรื่องที่เปนเหตุผลสําคัญเปนขอเท็จจริงหรือเปนวิธีปฏิบัติ

               ที่ถูกตองเหมาะสม โดยใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคลและสถานการณในขณะนั้นอธิบายใหผูฟง

               เขาใจในรายละเอียดใหแจมแจงชัดเจน
                       4.  มีการสรุปในสาระสําคัญ แนวปฏิบัติหรือขอตกลงใหชัดเจนยิ่งขึ้น



               กิจกรรมที่  6
                       ใหผูเรียนฝกการพูดบรรยายความรูสึกตอเพื่อนหรือบุคคลที่เกี่ยวของในโอกาสอันควร ซึ่งอาจจะ

               เปนการพูดแสดงความยินดี แสดงความเสียใจหรือการพูดเพื่อปลอบใจโดยปฏิบัติตามหลักและวิธีการพูด
               บรรยายความรูสึกใหครบถวนแลวใหประเมินการพูดของตนเองดวย

                       การอภิปราย

                       ความหมายและความสําคัญของการอภิปราย

                       การอภิปราย หมายถึง การที่บุคคลคณะหนึ่งจํานวนตั้งแต 2 คนขึ้นไปรวมกันพูดแสดงความรู
               ความคิดเห็น และประสบการณ เพื่อใหเกิดความรู ความคิดใหม และกวางขวางเพิ่มขึ้นหรือชวยกันหา

               แนวทางและวิธีการในการแกปญหารวมกัน
                       การอภิปราย มีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะเปนสังคมประชาธิปไตย ซึ่งใหสิทธิ

               เสรีภาพแกคนในสังคมไดใชความรู ความสามารถรวมกันในการวางแนวทางในการดําเนินชีวิต แนวทาง

               ในการแกปญหาในชุมชน สังคมและประเทศ
                       ปจจุบันไดนําเอาวิธีการอภิปรายมาใชอยางกวางขวาง  ทั้งในดานการศึกษาเลาเรียนการพัฒนา

               ชุมชน การอนุรักษและเผยแพรวัฒนธรรม การบริหารธุรกิจ การประกอบอาชีพ การปกครองทองถิ่นและ
               ประเทศ ฯลฯ

                       องคประกอบของการอภิปราย มีดังนี้

                       1.  หัวขอเรื่องหรือปญหาที่จะอภิปราย
                       2.  ผูฟง

                       3.  คณะหรือหนวยงานที่จัดการอภิปราย

                       4.  คณะผูอภิปราย
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44