Page 43 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 43

34


                       ปจจุบันมีการจัดกิจกรรมการพูดโตวาทีอยูเสมอโดยเฉพาะทางสื่อมวลชน เชน รายการยอวาที
               แซววาที ฯลฯ  แตดูเปนการใชคารมคมคายมากกวาการใชวิธีการแหงปญญา ไมไดสงเสริมการเพิ่มพูน

               ภูมิปญญา เพียงแตมุงความบันเทิงมากกวาสาระความรู

                       องคประกอบของการโตวาที


                       การโตวาทีเปนการพูดอภิปรายสาธารณะ จึงมีการแยกกลุมผูพูดออกจากผูฟงและไมเปดโอกาส

               ใหผูฟงไดมีสวนรวมในการพูดอาจจะมีเพียงถามความเห็นในการตัดสินดวยการขอเสียงปรบมือเทานั้น
               องคประกอบของการโตวาทีมีดังนี้

                       1.    ญัตติ  คือ  หัวขอการโตวาทีหรือประเด็นปญหาที่กําหนดขึ้น  ซึ่งเปนขอที่ผูพูดทั้งสองฝาย

               มีความเห็นไมตรงกัน หรืออาจจะกําหนดใหเห็นไมตรงกัน หยิบยกมาใหอภิปรายโตแยงกัน
                       ญัตติที่ควรนํามาโตวาทีควรมีลักษณะ ดังนี้

                       1.  เปนเรื่องที่คนสวนใหญใหความสนใจและมีสวนเกี่ยวของหรือมีผลกระทบและเกิดประโยชนตอ

               คนในสังคมเหลานั้น
                       2.  เปนเรื่องใหความรู มีคุณคาในการสงเสริมความรู ความคิดและสงเสริมเศรษฐกิจ การเมือง

               การปกครอง
                       3.  เปนเรื่องสงเสริมศิลปวัฒนธรรม และไมขัดตอศีลธรรมอันดีงามไมเปนภัยตอสังคม

                       4.  เปนเรื่องที่จะนําไปสูขอตกลงที่จะดําเนินการไดหรือสามารถนําผลของการโตวาทีไปใชใน

               การแกปญหาหรือใชประโยชนดานอื่น ๆ ได (ควรหลีกเลี่ยงญัตติที่ขาดลักษณะดังกลาวมา เชน ญัตติที่วา
               ขี้เมา ดีกวาเจาชู  พอคาดีกวาขาราชการ ฯลฯ  ซึ่งเปนญัตติที่ไมไดประโยชนไรสาระ)

                       2.  ประธานการโตวาทีและคณะผูตัดสินใจ
                       ประธานการโตวาที  เปนผูทําหนาที่ควบคุมการโตวาทีใหเปนไปตามแบบแผนและกฎเกณฑตลอด

               ทั้งขอตกลงตาง ๆ    ประธานการโตวาทีจะมีผูชวยทําหนาที่ผูกํากับเวลาของผูโตตามที่กําหนดกันไว

               ประธานการโตวาทีมีหนาที่ดังนี้
                       1.  กลาวนําบอกญัตติและชี้แจงระเบียบวิธีการ หลักเกณฑของการโตวาที

                       2.  แนะนําคณะผูโตทั้งฝายเสนอและฝายคาน  แนะนําผูกํากับเวลาและคณะผูตัดสิน

                       3.  ชี้แจงรายละเอียดของกติกาตาง ๆ ใหทุกฝายที่เกี่ยวของในการโตวาทีทราบ
                       4.  เชิญผูโตขึ้นพูดทีละคนตามลําดับ

                       5.  รวมคะแนน แจงผลการตัดสิน และกลาวปดการโตวาที

                       คณะผูตัดสิน
                       คณะผูตัดสินจะเลือกผูที่มีประสบการณในการโตวาทีและมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่นํามาเปนญัตติ

               ในการโตวาที  อาจจะมี 2 หรือ 5 คน คณะผูตัดสินมีหนาที่ใหคะแนนตัดสินชี้ขาด การโตวาทีฝายใด
               ที่เสนอเหตุผล  ความคิดทรรศนะที่ดีกวา  โดยไมตองถามความเห็นตอผูฟง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48