Page 46 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 46

37


               งานมหกรรมงานแสดงดนตรีก็จะมีขั้นตอนการพูดที่มีขอแตกตางในเชิงเนื้อหาบาง  แตโดยทั่วไปพิธีกรจะมี
               ขั้นตอนในการพูด ดังนี้

                       1.  กลาวทักทายและปฏิสันถารกับผูฟง
                       2.  แจงวัตถุประสงคหรือกลาวถึงโอกาสของการจัดงาน

                       3.  แจงถึงกิจกรรมหรือการแสดงที่จะจัดขึ้นวามีอะไร  มีขั้นตอนอยางไร

                       4.  กลาวเชิญประธานเปดงาน  เชิญผูกลาวรายงาน (ถามี) และกลาวขอบคุณเมื่อประธานกลาวจบ
                       5.  แจงรายการที่จะดําเนินในลําดับตอไป  ถามีการอภิปรายก็เชิญคณะผูอภิปราย เพื่อดําเนินการ

               อภิปราย  ถาหากงานนั้นมีการแสดงก็แจงรายการแสดง

                       6.  พูดเชื่อมรายการหากมีการแสดงหลายชุดก็จะตองมีการพูดเชื่อมรายการ
                       7.  เมื่อทุกรายการจบสิ้นลง    พิธีกรก็จะกลาวขอบคุณแขกผูมีเกียรติ    ผูฟงและผูชม  ผูที่ให

               การชวยเหลือสนับสนุนงา  หากมีพิธีปด พิธีกรก็จะตองดําเนินการจนพิธีปดเสร็จเรียบรอย


               กิจกรรมที่  9

                       1.  ใหผูเรียนดูและฟงการพูดของพิธีกรในรายการตาง ๆ ทางโทรทัศนและวิทยุเพื่อสังเกตขั้นตอน
               วิธีการและเทคนิคตาง ๆ ของพิธีกรเพื่อเปนตัวอยาง จะไดนําสวนดีมาฝกและใชเมื่อไดทําหนาที่พิธีกร

                       2.  ในโอกาสตาง ๆ ที่กลุมหรือสถานศึกษาจัดงานใหผูเรียนใชโอกาสฝกทําหนาที่พิธีกร เพื่อจะได

               ฝกทักษะ การพูดเปนพิธีกร หากจะใหเพื่อนไดชวยวิจารณและใหครูประจํากลุมใหคําแนะนําก็จะทําให
               พัฒนาการพูดเปนพิธีกรไดดี


                       ผูมีมารยาทดีในการพูด

                       การมีมารยาทในการพูดก็จะคลายคลึงกับลักษณะการพูดที่ดีดังที่ไดกลาวในตอนตนแลว ซึ่งอาจ

               ประมวลได ดังนี้

                       1.  ผูพูด เปนผูที่ถายทอดความรูสึก ความคิดเห็น ขอเท็จจริง ตลอดจนทัศนคติของตนไปสูผูฟง
               โดยสื่อทางภาษา เสียง อากัปกิริยา และบุคลิกภาพ ใหมีประสิทธิภาพที่สุด ผูพูดจะตองมีมารยาทและ

               คุณธรรมในการพูด  และผูพูดเองตองมีการเตรียมตัว มีความรู และประสบการณในเรื่องที่จะพูดอยางดี

               และตองรวบรวมเรียบเรียงความรูเหลานั้นใหเปนระบบและถายทอดใหผูฟงเขาใจงาย  และชัดเจน  ผูพูด
               เองตองมีทักษะในการพูดมีความสนใจที่จะพัฒนาบุคลิกภาพอยูเสมอ เปนการสรางความมั่นใจใหผูพูดเอง

                       2.  เรื่องและสาระที่พูดตองมีประโยชนตอผูฟง ควรเปนเรื่องทันสมัย เนื้อหาชัดเจน ผูพูดตองขยาย
               ความคิดและยกตัวอยางใหชัดเจน

                       3.  ผูพูดตองรูจักกลุมผูฟงกอนลวงหนา  ทั้งอาชีพ วัย เพศ ความสนใจของผูฟง ฯลฯ

               รวมทั้งจุดมุงหมายในการพูด  เพื่อจะไดเตรียมตัวและเนื้อหาไดถูกตองนาสนใจ
                       4.  ผูพูดตองคนควาหาความรู  และประมวลความคิดทั้งหมด แยกแยะใหไดวาความคิดหลักคือ

               อะไร  ความคิดรองคืออะไร และควรหาสิ่งสนับสนุนมาประกอบความคิดนั้น ๆ เชน เหตุการณที่รับรูกันได
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51