Page 49 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 49

40

               เรื่องที่ 1  ความสําคัญของการอาน




                       1  การอานชวยพัฒนาคุณภาพชีวิต  ทําใหผูอานไดรับสาระความรูเพิ่มขึ้น  เปนคนทันสมัย

               ทันเหตุการณและความเคลื่อนไหวของเหตุการณบานเมือง  ตลอดจนสังคมและวิทยาการใหม ๆ  เปนตน
               ผูอานเมื่อไดรับความรูจากการอานแลว  จะสามารถนําสาระตาง ๆ  มาสรางสรรคใหเกิดประโยชนตอชีวิต

               สังคมและประเทศชาติในโอกาสตอไปได
                       2.  การอานชวยใหเกิดความเพลิดเพลิน หนังสือหลายประเภทนอกจากจะใหความรู ความคิดแลว

               ยังใหความเพลิดเพลินอีกดวย ผูอานหนังสือจะไดรับความเพลิดเพลิน ไดรับความสุข อีกทั้งยังสรางความฝน

               จินตนาการแกผูอาน  ตลอดจนเปนการพักผอนและคลายเครียดไดเปนอยางดี
                       3.  การอานมีผลตอการดําเนินชีวิตที่สุขสมบูรณของมนุษย  ผลที่ไดรับจากการอาน นอกจากจะเปน

               พื้นฐานของการศึกษา ศิลปวิทยาการ  และชวยในการพัฒนาอาชีพแลว  ยังมีผลชวยใหผูอานไดแนวคิดและ
               ประสบการณจําลองจากการอานอีกดวย  ซึ่งความคิดและประสบการณจะทําใหผูอานมีโลกทัศนกวางขึ้น

               เขาใจตนเอง เขาใจผูอื่น และเขาใจสังคมเปนอยางดี  อันจะมีผลตอการดําเนินชีวิตและการดํารงตนอยูใน

               สังคมไดอยางมีความสุข


               เรื่องที่ 2  วิจารณญาณในการอาน

                       วิจารณญาณในการอาน  คือ การรับสารจากการอานใหเขาใจเนื้อหาสาระแลวใชสติปญญา

               ใครครวญหรือไตรตรอง โดยอาศัยความรู ความคิด ประสบการณมาเปนเหตุผลประกอบและสามารถนํา

               ไปใชในชีวิตไดอยางถูกตองเหมาะสม
                       การใชวิจารณญาณในการอาน  จะเริ่มตนที่การอานดวยความตั้งใจและพยายามทําความเขาใจ

               เนื้อหาสาระของเรื่องที่อานแลวใชความรู ความคิด เหตุผลและประสบการณประกอบการคิด ใครครวญ
               ใหสามารถรับสารไดถูกตอง ถองแท การอานโดยใชวิจารณญาณประกอบดวยการเขาใจของเรื่อง การรูจักเขียน

               การเขาใจความสัมพันธของสารและการนําไปใช
                       การอานอยางมีวิจารณญาณจะตองใชความคิด  วิเคราะห  ใครครวญและตัดสินใจวาขอความที่ได

               อานนั้น  สิ่งใดเปนความสําคัญ  สิ่งใดเปนใจความประกอบหรือพลความ สามารถแยกขอเท็จจริงจากขอ

               คิดเห็นได  ตลอดจนวินิจฉัยไดวาขอความที่อานนั้นควรเชื่อถือไดหรือไมเพียงใด  และการอาน ประเมินคา
               วาขอความที่ไดอานมีเนื้อหาสาระหรือมีแงคิดที่ดีหรือไม  อาจนําไปใชประโยชนไดเพียงไร  รวมทั้ง

               การประเมินคางานเขียนในดานตาง ๆ เชน ความรู ความสามารถ ความจริงใจและกลวิธีในการเขียน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54