Page 50 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 50

41




















                       ขั้นตอนของวิจารณญาณในการอาน มีดังนี้

                       1.  อานใหเขาใจตลอดเรื่อง เปนการอานสารดวยความตั้งใจใหเขาใจรายละเอียดตลอดเรื่อง
                       2.  วิเคราะหเรื่อง เมื่ออานและเขาใจเรื่องแลวจะตองนํามาวิเคราะหสาระสําคัญใหรูเรื่องที่อาน

               เปนเรื่องประเภทใด อะไรเปนขอเท็จจริง อะไรเปนขอคิดเห็น และอะไรเปนประโยชน  ลักษณะของตัว
               ละครเปนอยางไร  เปนเรื่องประเภทรอยแกว  รอยกรอง  บทความ ขาว หรือละคร ฯลฯ ผูเขียนมีเจตนา

               อยางไร ในการเขียนเรื่องนี้  ใชกลวิธีในการนําเสนออยางไร  ซึ่งผูอานตองพิจารณาแยกแยะใหได

                       3.  ประเมินคาของเรื่อง  เมื่ออานและวิเคราะหแยกแยะเรื่องแลวนํามาประเมินคาวาสิ่งใดเท็จ
               สิ่งใดจริง สิ่งใดมีคาไมมีคา มีประโยชนในดานใด นําไปใชกับใครเมื่อไรและอยางไร

                       4.  นําเรื่องที่อานไปใช  หลังจากผานขั้นตอนของการอาน ทําความเขาใจ วิเคราะหและประเมินคา

               แลวตองนําไปใชไดทั้งในการถายทอดใหผูอื่น  และนําไปใชในการดําเนินชีวิตไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ
               และบุคคล

                       หลักการอานอยางใชวิจารณญาณ

                       1.  พิจารณาความถูกตองของภาษาที่อาน  เชน  ดานความหมาย  การวางตําแหนงคํา  การเวน
               วรรคตอน  ความผิดพลาดดังกลาวจะทําใหการสื่อความหมายผิดไป

                       2.  พิจารณาความตอเนื่องของประโยความีเหตุผลรับกันดีหรือไม  โดยอาศัยความรูดานตรรกวิทยา
               เขาชวย    ขอความจากประโยคจะตองไมขัดแยงกัน    หรือเรียงลําดับไมสับสนวุนวายจนอานไมรูเรื่องหรือ

               อานเสียเวลาเปลา

                       3.  พิจารณาดูความตอเนื่องของเรื่องราวระหวางเรื่องที่เปนแกนหลักหรือแกนนํากับแกนรองและ
               สวนประกอบอื่น ๆ กลมกลืนกันดีหรือเปลา

                       4.  รูจักแยกแยะขอเท็จจริงออกจากเรื่องการแสดงความรูและขอคิดเห็นของผูแตง เพื่อจะไดนํามา
               พิจารณาภายหลังไดถูกตองใกลเคียงความเปนจริงยิ่งขึ้น

                       5.  พิจารณาความรู  เนื้อหา  ตัวอยางที่ได  วามีสวนสัมพันธกันอยางเหมาะสมหรือไมเพียงใด

               เปนความรูความคิด  ตัวอยางที่แปลกใหมหรืออางอิงมาจากไหน  นาสนใจเพียงใด  จากนั้นควรทํา
               การประเมินผลโดยทั่วไปวาผลจากการอานจะทําใหเกิดความรูความคิดมากนอยเพียงใด  โดยเฉพาะ

               อยางยิ่งความคิดสรางสรรคที่ผูอานประสงคหรือปรารถนาจะไดจากการอานนั้น ๆ อยูเสมอ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55