Page 82 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 82
73
3. ศึกษาคนควาและเก็บรวบรวมขอมูลอยางเพียงพอทั้งจากเอกสาร การสัมภาษณ การสังเกต
หรือจากสื่อมวลชนตาง ๆ เปนตน
4. บันทึกขอมูลที่ไดคนควาพรอมแหลงที่มาของขอมูลอยางละเอียด โดยจดบันทึกลงในบัตรหรือ
สมุดบันทึก ทั้งนี้เพื่อนํามาเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรมในภายหลัง
5. เขียนโครงเรื่องอยางละเอียด โดยลําดับหัวขอตาง ๆ อยางเหมาะสม
6. เรียบเรียงเปนรายงานที่เหมาะสม โดยมีรูปแบบของรายงานที่สําคัญ 3 สวนคือ
6.1 สวนประกอบตอนตน
6.1.1 หนาปกรายงาน
6.1.2 คํานํา
6.1.3 สารบัญ
6.1.4 บัญชีตาราง หรือภาพประกอบ (ถามี)
6.2 สวนเนื้อเรื่อง
6.2.1 สวนที่เปนเนื้อหา
6.2.2 สวนประกอบในเนื้อหา
6.2.2.1 อัญประกาศ
6.2.2.2 เชิงอรรถ
6.2.2.3 ตารางหรือภาพประกอบ (ถามี)
6.3 สวนประกอบตอนทาย
6.3.1 บรรณานุกรม
6.3.2 ภาคผนวกหรืออภิธานศัพท (ถามี)
การใชภาษาในการเขียนรายงาน
1. ใชภาษากะทัดรัด เขาใจงาย และตรงไปตรงมา
2. ใชภาษามาตรฐาน ตามธรรมเนียมนิยม
3. เวนวรรคตอนอยางถูกตองเหมาะสม เพื่อใหเนื้อความกระจางชัด เขาใจงาย
4. การเขียนทั่ว ๆ ไป ควรใชศัพทธรรมดา แตในกรณีที่ตองใชศัพทเฉพาะวิชา ควรใชศัพทที่ไดรับ
การรับรองแลวในแขนงวิชานั้น ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งศัพทซึ่งคณะกรรมการบัญญัติศัพทภาษาไทย
ของราชบัญฑิตสถานไดบัญญัติไวแลว
5. การเขียนยอหนาหนึ่ง ๆ จะตองมีใจความสําคัญเพียงอยางเดียว และแตละยอหนาจะตองมี
ความสัมพันธตอเนื่องกันไปจนจบ