Page 77 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 77

68


                       3.  ใชถอยคําภาษาในเชิงสรางสรรค  เลือกเฟนถอยคําใหนาอาน  ระมัดระวังในการใชถอยคํา
               การเขียนลักษณะนี้เปนการเขียนจดหมายสวนตัว

                       4.  จดหมายที่เขียนติดตอเปนทางการตองศึกษาวาควรจะสงถึงใคร  ตําแหนงอะไร  เขียนชื่อ
               ชื่อสกุล ยศ ตําแหนง ใหถูกตอง

                       5.  ใชคําขึ้นตนและคําลงทายใหเหมาะสมกับผูรับตามธรรมเนียม

                       6.  กระดาษและซองเลือกใชใหเหมาะสมกับประเภทของจดหมาย  ถาเปนจดหมายที่สงทาง
               ไปรษณีย จะตองเขียนนามผูสงไวมุมซองบนดานซายมือ พรอมที่อยูและรหัสไปรษณีย การจาหนาซอง

               ใหเขียน หรือพิมพชื่อที่อยูของผูรับใหชัดเจนและอยาลืมใสรหัสไปรษณียดวย สวนดวงตราไปรษณียใหปดไว

               มุมบนขวามือ คาไปรษณียากรตองใหถูกตองตามกําหนด

                       การเขียนเรียงความ


                       การเขียนเรียงความเปนรูปแบบการเขียนอยางหนึ่ง ซึ่งจะตองใชศิลปะในการเรียบเรียงถอยคํา
               ภาษาใหเปนเนื้อเรื่อง เพื่อถายทอดขอเท็จจริง ความรู ความรูสึก จินตนาการและความเขาใจดวยภาษาที่

               ถูกตองสละสลวยการจะเขียนเรียงความไดดีผูเขียนจะตองศึกษารูปแบบ กฏเกณฑใหเขาใจและฝกเขียน

               เปนประจํา
                       การเขียนเรียงความ  มีสวนสําคัญ 3 สวน คือ


                       สวนที่ 1 ความนําหรือคํานํา

                       ความนําเปนสวนแรกของการเขียนเรียงความ ซึ่งผูรูไดแนะนําใหเขียนหลังจากเขียนสวนอื่น ๆ

               เสร็จเรียบรอยแลว และจะไมซ้ํากับขอความลงทายหรือสรุป ความนําของการเขียนเรียงความจะทําหนาที่

               ดังนี้
                       1.  กระตุนใหผูอานเกิดความสนใจตอเนื่องของเรื่องนั้น ๆ

                       2.  ปูพื้นฐานความเขาใจใหกับผูอาน หรือชี้ใหเห็นความสําคัญของเรื่องกอนที่จะอานตอไป

                       3.  บอกขอบขายเนื้อเรื่องนั้น ๆ วามีขอบขายอยางไร

                       สวน 2 เนื้อเรื่องหรือตัวเรื่อง



                       การเขียนเนื้อเรื่อง  ผูเรียนจะตองดูหัวขอเรื่องที่จะเขียนแลวพิจารณาวาเปนเรื่องลักษณะใด
               ควรตั้งวัตถุประสงคของการเขียนเรียงความอยางไร เพื่อใหขอเท็จจริงแกผูอาน เพื่อโนมนาวใจใหผูอานเชื่อ

               หรือคลอยตาม เพื่อใหความบันเทิง หรือ เพื่อสงเสริมใหผูอานใชความคิดของตนใหกวางขวางขึ้น เมื่อได

               จุดประสงคในการเขียน ผูเรียนจะสามารถกําหนดขอบขายของหัวขอเรื่องที่จะเขียนได
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82