Page 75 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 75

66


               เรื่องที่ 1  หลักการเขียน


                       ความหมายและความสําคัญของการเขียน

                       การเขียน คือ การแสดงความรู ความคิด อารมณความรูสึกและความตองการของผูสงสารออกมา

               เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหผูรับสารอานเขาใจไดรับความรู ความคิด อารมณ ความรูสึก และความตองการ

               ตาง ๆ เหลานั้น
                       การเขียนเปนพฤติกรรมของการสงสารของมนุษย ซึ่งมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาการสงสาร

               ดวยการพูดและการอาน เพราะการเขียนเปนลายลักษณอักษรหรือตัวหนังสือจะคงทนถาวรและกวางขวาง

               กวาการพูด และการอาน การที่เราไดทราบความรูความคิดและวิทยาการตาง ๆ ของบุคคลในยุคกอน ๆ
               ก็เพราะมนุษยรูจักการเขียนสัญลักษณแทนคําพูดถายทอดใหเราทราบ

                       การเขียนเพื่อสงสารมีประสิทธิภาพมากนอยแคไหนนั้นยอมขึ้นอยูกับผูสงสารหรือผูเขียนซึ่งจะตอง

               มีความสามารถในหลายดาน ทั้งกระบวนการคิด กระบวนการเขียน ความสามารถในดานการใชภาษาและ
               อื่น ๆ ดังนี้

                       1.  เปนผูมีความรูในเรื่องที่จะเขียนเปนอยางดี มีจุดประสงคในการถายทอด เพื่อจะใหผูอานไดรับ
               สิ่งใดและทราบพื้นฐานของผูรับสารเปนอยางดีดวย

                       2.  สามารถเลือกรูปแบบและกลวิธีในการเขียนไดเหมาะสมกับเนื้อหาและโอกาส เชน  การเขียน

               คําชี้แจงก็เหมาะที่จะเขียนแบบรอยแกว  หากเขียนคําอวยพรในโอกาสตาง ๆ  อาจจะใชการเขียนแบบ
               รอยกรองเปนโคลง ฉันท กาพย กลอน จะเหมาะสมกวา เปนตน

                       3.  มีความสามารถในการใชภาษา โดยเฉพาะภาษาเขียนทั้งการเขียนคําและขอความตามอักขรวิธี
               รวมทั้งการเลือกใชถอยคําสํานวนตาง ๆ

                       4.  มีความสามารถในการศึกษาคนควาและการฝกฝนทักษะการเขียน

                       5.  มีศิลปะในการใชถอยคําไดไพเราะเหมาะสมกับเนื้อหา หรือสารที่ตองการถายทอด
                       หลักการเขียนที่ดี

                       1.  เขียนตัวหนังสือชัดเจน อานงาย เปนระเบียบ

                       2.  เขียนไดถูกตองตามอักขรวิธี สะกดการันต วรรณยุกต วางรูปเครื่องหมายตาง ๆ เวนวรรคตอน
               ไดถูกตอง เพื่อจะสื่อความหมายไดตรงและชัดเจน ชวยใหผูอานเขาใจสารไดดี

                       3.  เลือกใชถอยคําไดเหมาะสม สื่อความหมายไดดี กระทัดรัด ชัดเจนเหมาะสมกับเนื้อหา  เพศ

               วัยและระดับของผูอาน
                       4.  เลือกใชสํานวนภาษาไดไพเราะ  เหมาะสมกับความรู ความคิด อารมณ ความรูสึก ที่ตองการ

               ถายทอด

                       5.  ใชภาษาเขียนไมควรใชภาษาพูด ภาษาโฆษณา หรือภาษาที่ไมไดมาตรฐาน
                       6.  เขียนไดถูกตองตามรูปแบบและหลักเกณฑของงานเขียนแตละประเภท
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80