Page 71 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 71
62
2. รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคอีสาน
2.1 โคลงสาร เปนฉันทลักษณที่บังคับเสียงเอกโท สวนมากใชประพันธวรรณกรรมประเภท
นิทาน นิยาย หรือนิทานคติธรรม
2.2 กาพยหรือกาพยเซิ้ง ประพันเปนบทสั้น ๆ สําหรับขับลําในพิธี เชน เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งนางแมว
ฯลฯ
2.3 ราย (ฮาย) ลักษณะเหมือนรายยาว ใชประพันธวรรณกรรมชาดก หรือนิทานคติธรรม
ที่ใชเทศน เชน มหาชาติ (ฉบับอีสานเรียกวาลํามหาชาติ)
3. รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคเหนือ
3.1 คําวธรรม ฉันทลักษณเหมือนรายยาวชําสําหรับเทศน นิยมประพันธวรรณกรรมประเภท
นิทานชาดกหรือนิทานคติธรรม
3.2 คําวซอ คําประพันธที่บังคับสัมผัสระหวางวรรคและบังคับเสียงเอกโท นิยมแตนิทาน
เปน คําวซอ แลวนํามาขับลําในที่ประชุมชน ตามลีลาทํานองเสนาะของภาคเหนือ
3.3 โคลง ภาษาถิ่นเหนือออกเสียงเปน “กะลง” เปนฉันทลักษณที่เจริญรุงเรือง ควบคูกับ
“คาวธรรม” มีทั้งกะลงสี่หอง สามหอง และสองหอง (โคลงสี่ โคลงสาม และโคลงสอง)
4. รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคใต
วรรณกรรมพื้นบานภาคใตฉันทลักษณรวมกับวรรณกรรมทองถิ่นภาคกลาง แตจากการศึกษา
ความนิยมเรื่องฉันทลักษณของวรรณกรรมภาคใต พบวานิยม “กลอนสวด” (คํากาพย) มากที่สุด
วรรณกรรมลายลักษณภาคใตเกินรอยละ 80 ประพันธเปนกลอนสวด โดยเฉพาะนิทานประโลมโลก
(เรื่องจักร ๆ วงศ ๆ)
การวิเคราะหคุณคาของวรรณกรรมทองถิ่น
การวิเคราะหวรรณกรรมทองถิ่นนั้นจะวิเคราะหตามคุณคาของวรรณกรรมดานตาง ๆ เมื่อศึกษา
วรรณกรรมทองถิ่นเรื่องใด เราจะตองวินิจวิเคราะหหรือพิจารณาดูวาวรรณกรรมเรื่องนั้นมีคุณคาในดานใด
ดังตอไปนี้
1. คุณคาดานจริยศาสตรหรือคุณคาดานจริยธรรม วิเคราะหวาวรรณกรรมที่อานและศึกษา
เปนตัวอยางความประพฤติ การดําเนินชีวิตวาอะไรผิด อะไรถูก อยางไรดี อยางไรเหมาะสม วรรณกรรม
ทองถิ่นจะทําหนาที่ตัวอยางแบบแผนและความประพฤติของชาวบานใหถูกตองสอดคลองกับขอตกลงของ
สังคม ชุมชน ตามกฎหมายระเบียบประเพณีอันดีงาม
2. คุณคาดานสุนทรียศาสตรหรือความงามความไพเราะ วรรณกรรมทองถิ่นจะใหคุณคา
ดานความงามความไพเราะของถอยคํา ใชคําสัมผัสคลองจอง ความไพเราะของทวงทํานองของเพลง บทกวี
เมื่อฟงหรืออานจะทําใหเกิดจินตนาการ เกิดความซาบซึ้งในอารมณความรูสึก
3. คุณคาภาษา วรรณกรรมทองถิ่นจะเปนสื่อที่ทําใหภาษาถิ่นดํารงอยูและชวยใหภาษาถิ่นพัฒนา
อยูเสมอมีการคิดคนสรางสรรค ถอยคําภาษา เพื่อสื่อความในวรรณกรรมทองถิ่น ทั้งเพลงพื้นบาน บทกวี