Page 69 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 69
60
4. “ฝนตกฟารอง พอแมเขาอยูหนุก” คําวา หนุก เปนคําในภาษาถิ่นภาคใด
ก. เหนือ ข. ใต
ค. อีสาน ง. กลาง
5. ภาษาถิ่นใด ที่มีหนวยเสียงวรรณยุกตมากที่สุด
ก. ภาษาถิ่นเหนือ ข. ภาษาถิ่นอีสาน
ค. ภาษาถิ่นใต ง. ภาษากลาง
เรื่องที่ 7 สํานวน สุภาษิต
สํานวน หมายถึง คํากลาวหรือกลุมคําที่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบเปนเชิงใหใชความคิดและ
ตีความบางสํานวนจะบอกหรือสอนตรง ๆ บางสํานวนสะทอนความคิด ความรูสึกของกลุมชนในทองถิ่น
ในอดีตดวย
สุภาษิต หมายถึง คํากลาวที่ดีงามเปนความจริง ทุกสมัยเปนคําสอนใหประพฤติ ปฏิบัติ ดังตัวอยาง
“หลํารองชักงาย หลําใจชักยาก”
ความหมาย คิดจะทําอะไรตองคิดใครครวญใหรอบคอบกอนตัดสินใจ
“นอนจนหวันแยงวาน”
ความหมาย นอนตื่นสายมากจนตะวันสองสวางไปทั่วบาน
“พูดไป สองไพเบี้ย นิ่งเสียตําลึงทอง”
ความหมายพูดไปไมมีประโยชนอะไร นิ่งไวดีกวา
“เกลือจิ้มเกลือ”
ความหมาย ไมยอมเสียเปรียบกัน แกเผ็ดกันใหสาสม
“ขายผาเอาหนารอด”
ความหมาย ยอมเสียสละของที่จําเปนที่มีอยูเพื่อจะรักษาชื่อเสียงของตนไว
“ฝนทั่งใหเปนเข็ม”
ความหมายเพียรพยายามสุดความสามารถจนกวาจะสําเร็จผล
“น้ํามาปลากินมด น้ําลดมดกินปลา”
ความหมาย ทีใครทีมัน
เรื่องที่ 8 วรรณกรรมทองถิ่น
วรรณกรรมทองถิ่น หมายถึง เรื่องราวของชาวบานที่เลาสืบตอกันมาหลายชั่วอายุคนทั้งการพูด
และการเขียนในรูปของ คติ ความเชื่อ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอยคําที่มีหลากหลายรูปแบบ
เชน นิทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนา คําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน และคํากลาวในพิธีกรรมตาง ๆ