Page 67 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 67

58


                       สาเหตุที่ทําใหเกิดภาษาถิ่น
                       ภาษาถิ่น เกิดจากสาเหตุการยายถิ่นฐาน เมื่อกลุมชนที่ใชภาษาเดียวกันยายถิ่นฐานไปตั้งแหลงใหม

               เนื่องจากเกิดภัยธรรมชาติ  มีการรุกรานของศัตรู  เมื่อแยกยายไปอยูคนละถิ่นนาน ๆ  ภาษาที่ใชจะคอย
               เปลี่ยนแปลงไปเชน เสียงเปลี่ยนไป คําและความหมายเปลี่ยนไป ทําใหเกิดภาษาถิ่นขึ้น

                       คุณคาและความสําคัญของภาษาถิ่น

                       1.  ภาษาถิ่นเปนวัฒนธรรมทางภาษาและเปนเอกลักษณของแตละทองถิ่น
                       2.  ภาษาถิ่นเปนสัญลักษณที่ใชสื่อสารทําความเขาใจและแสดงความเปนญาติ เปนพวกเดียวกัน

               ของเจาของภาษา

                       3.  ภาษาถิ่นตนกําเนิดและเปนสวนหนึ่งของภาษาไทยและวรรณคดีไทย การศึกษาภาษาถิ่น
               จะชวยใหการสื่อสารและการศึกษาวรรณคดีไดเขาใจลึกซึ่งยิ่งขึ้น

                       4.  การศึกษาและการใชภาษาถิ่น จะชวยใหการสื่อสารไดมีประสิทธิภาพและสรางความเปนหนึ่ง

               ของคนในชาติ
                       ลักษณะของภาษาถิ่น

                       1.  มีการออกเสียงตาง ๆ ถิ่น เพราะสภาพทางภูมิศาสตร ความหางไกลขาดการติดตอสื่อสารกัน
               เปนเวลานานมาก ๆ ยอมทําใหออกเสียงตางกันไป

                       2.  การผสมกันทางเชื้อชาติ เพราะอยูใกลเคียงกันทําใหมีภาษาอื่นมาปน  เชน  ภาษาอีสาน

               มีภาษากลางและเขมรมาปน เพราะมีเขตแดนใกลกันทําใหภาษาเปลี่ยนไปจากภาษากลาง
                       3.  การถายทอดทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยีซึ่งกันและกัน ทําใหภาษาเปลี่ยนจากภาษากลาง

                       4.  หนวยเสียงของภาษาถิ่นมีสวนคลายกันและแตกตางกัน หนวยเสียงของภาษากลางมี 21 เสียง
               ภาษาถิ่นมีหนวยเสียงตรงกันเพียง  17  เสียง  นอกนั้นแตกตางกัน  เชน  ภาษาถิ่นเหนือและอีสานไมมี

               หนวยเสียง ช และ ร ภาษาถิ่นใตไมมีหนวยเสียง ง และ ร  เปนตน

                       5.  หนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่น แตกตางกันไป ภาคใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียง ภาคเหนือ
               และอีสานมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียง ตัวอยางการกลายเสียงวรรณยุกต

                         มา (กลาง)   ภาคใตออกเสียงเปน    หมา

                         ขาว (กลาง)  ภาคอีสานออกเสียงเปน   ขาว
                         ชาง (กลาง)   ภาคเหนือออกเสียงเปน    จาง

                       6.  การกลายเสียงพยัญชนะในภาษาถิ่นเหนือ ใต อีสาน นั้นมีสวนแตกตางกันหลายลักษณะ เชน
                         6.1  ภาษาไทยเหนือ จะมีคาที่กลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางอยูหลายตัว

               ภาษาไทยกลางเปน ช ไทยเหนือจะเปน จ เชน ชางเปนจาง  ฉะนั้นเปนจะอั้น  ใชเปนไจ  ภาษาไทยกลาง

               ใช ร ไทยเหนือจะเปน ฮ เปน รัก เปนฮัก รองเปนฮอง โรงเรียนเปนโฮงเฮียน  ภาษาไทยกลางเปน คิดเปน
               กึ้ด คิ้วเปนกิ๊ว ภาษากลางใช ท ภาษาไทยเหนือใช ต เชน ทานเปนตาน ทานเปนตาน และภาษาไทยเหนือ

               นอกจากจะใชพยัญชนะตางกันแลวยังไมคอยมีตัวควบกล้ําเชน ขี้กลาก เปน ขี้ขาด  โกรธ เปน โขด
               นอกจากนี้จะมีคําวา โปรด ไทยเหนือ โปด ใคร เปน ไผ เปนตน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72