Page 72 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 72

63


               ซอภาษิต  จะมีกลวิธีการแตงที่นาสนใจ  มีการเลนคําซ้ําคําทองถิ่น  ถอยคําที่นํามาใชมีเสียงสูงต่ํา
               มีเสียงไพเราะ ฟงแลวรื่นหู

                       4.  คุณคาดานการศึกษา วรรณกรรมทองถิ่นประเภทตําราคําสอน นิทานนอกจากจะให
               ความบันเทิงแลวยังจะใหความรูทุกแขนง ทั้งศิลปวัฒนธรรม อาชีพและเสริมสรางปญญา โดยเฉพาะปริศนา

               คําทายจะใหทั้งความรู ความบันเทิงเสริมสรางสติปญญา

                       5.  คุณคาดานศาสนา  วรรณกรรมทองถิ่นจะเปนสื่อถายทอดคําสอนและปรัชญาทางศาสนา
               เผยแพรสูคนในชุมชนทองถิ่นใหคนชุมชนใชเปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ใหแนวคิดในการดํารงชีวิต เชน

               นิทานชาดกตาง ๆ เปนตน

                       6.  คุณคาดานเศรษฐศาสตร วรรณกรรมประเภทตํารายา ตําราพยากรณ การทําพิธีบายศรีสูขวัญ
               หรือบทสวดในพิธีกรรมตาง ๆ สามารถนํามายึดเปนอาชีพได วรรณกรรมเกี่ยวกับคํา ภาษาสามารถชวยให

               ประหยัดอดออมได

                       7.  คุณคาทางสังคมไดรับความบันเทิงสนุกสนาน  วรรณกรรมทองถิ่นจะปลูกฝงคานิยม
               ในการผูกมิตรผูกสัมพันธของคนในทองถิ่น การอยูรวมกันอยางมีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน สรางความสามัคคี

               ในหมูคณะใหขอคิดคติธรรมที่เกี่ยวของกับชีวิตความเปนอยูการทํามาหากินและสิ่งแวดลอม เปนตน
                       8.  คุณคาดานประวัติศาสตรโบราณคดีและความเปนมาของชุมชนแตละทองถิ่น เชน

               วรรณกรรมประเภทตํานาน  ไดแก ตํานานเกี่ยวกับโบราณสถาน  โบราณวัตถุ  ตํานานชื่อบานชื่อเมือง

               เปนตน
                       การวิเคราะหคุณคาของวรรณกรรมทองถิ่นจะพิจารณาจากคุณคาดานตาง ๆ ดังกลาวมา

               ซึ่งวรรณกรรมแตละเรื่อง แตละประเภทยอมจะใหคุณคาแตกตางกัน การศึกษาวรรณกรรมทองถิ่นที่จะเกิด
               ประโยชนจะตองพิจารณา วินิจ วิเคราะห และนําไปใชไดอยางเหมาะสมจึงเปนหนาที่ของเยาวชนที่จะถือ

               เปนภารกิจที่จะตองชวยกันอนุรักษวรรณกรรมที่มีคาเหลานี้ไว และชวยกันสืบทอดใหคนรุนหลังไดมีโอกาส

               เรียนรู ศึกษาและพัฒนาเพื่อความเปนเอกลักษณของชาติตอไป
                       มารยาทในการอาน

                       มารยาทเปนวัฒนธรรมทางสังคม  เปนความประพฤติที่ดีเหมาะสมที่สังคมยอมรับและยกยอง

               ผูมีมารยาทคือ ผูที่ไดรับการอบรมสั่งสอน ขัดเกลามาดีแลว มารยาทในการอานแมจะเปนเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ
               ที่บางคนอาจไมรูสึก แตไมควรมองขาม มารยาทเหลานี้จะเปนเครื่องบงชี้ใหเห็นวาบุคคลนั้นไดรับการอบรม

               สั่งสอนมาดีหรือไม อยางไร ดังเชนภาษิตที่วา “สําเนียงสอภาษากริยาสอสกุล”
                       มารยาททั่ว ๆ ไปในการอาน มีดังนี้

                       1.  ไมควรอานเรื่องที่เปนสวนตัวของบุคคลอื่น เชน จดหมาย สมุดบันทึก

                       2.  ในขณะที่มีผูอานหนังสือ ไมควรชะโงกไปอานขางหลังใหเปนที่รําคาญและไมควรแยงอาน
                       3.  ไมอานออกเสียงดังในขณะที่ผูอื่นตองการความสงบ

                       4.  ไมแกลงอานเพื่อลอเลียนบุคคลอื่น
                       5.  ไมควรถือวิสาสะหยิบหนังสืออื่นมาอานโดยไมไดรับอนุญาต
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77