Page 68 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 68

59


                         6.2   ภาษาไทยอีสานก็มีกลายเสียงหรือมีหนวยเสียงตางกับภาษาไทยกลางหลายตัว ตัวอยาง
               ช ใช ซ แทนเสียง ร ใช ฮ แทนเสียง ญ และ ย จะออกเสียงนาสิก แทนภาษาไทยกลาง  ชาง ไทยอีสาน

               เปน ซาง เรา เปน เฮา เลือด เปน เฮือด หญิง เปน ญิง (นาสิก) ใหญ เปน ใญ ภาษาไทยอีสานจะไมมี
               คําควบกล้ําคลายเหนือ เชน กลวย เปน กวย ปลา เปน ปา ของ เปน ขอ เปรต เปน เผด และภาษาไทย

               อีสานมีการสลับรับเสียงดวย เชน ตะกรอ เปน กะตอ  ตะกรา เปน กะตา  ตะกรุด เปน กะตุด เปนตน

                         6.3  ภาษาไทยใตก็มีการกลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางเหมือนกัน ภาษาไทยกลาง
               เปน ง ภาษาไทยใตจะเปน ฮ เสียง ฐ จะเปน ล (บางจังหวัด) และญ จะออกเสียงนาสิก ตัวอยาง ภาษาไทย

               กลาง คําวา เงิน ภาษาไทยใต เปน เฮิง งาน เปน ฮาน รัก เปน หลัก เปนตน

                       7.  ภาษาถิ่นเหนือใตและอีสานมีการกลายเปนเสียงจากภาษาไทยกลางหนวยเสียง
                         7.1 ภาษาไทยเหนือจะกลายเสียงสระ อ ิ เปน อึ เชน คิด เปน กึ้ด สระ อึ เปน สระเออ เชน ถึง

               เปน เถิง สระอะ เปน สระอา เชน มะปราง เปน หมาผาง มะละกอ เปน หมากกวยเต็ด สระ เอ เปนสระ

               แอ เชน เอว เปน สระแอว เปนตน
                         7.2 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียงสระเชน สระ เอือ เปน เอีย เชน เนื้อ เปน เนี้ย สระ อัว

               เปน สระโอ เชน วัว เปน โง ตัว เปน โต สระ อึ เปน สระ เออ เชน ครึ่ง เปน เคิ่ง สระ อา เปนสระ อัว
               เชน ขวา เปน ขัว เปนตน

                         7.3  ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียสระ  เชน  ภาษาไทยกลางใช  สระ  อิ  อ ี  ภาษาถิ่นใต

               ใช  สระ เอะ  เอ เชน  สี่ เปน เส ซีก เปน แซก สระ เอะ เอ ใชเปนสระ แอะ แอ เชน  เด็ก  เปน แด็ก เปนตน
                       8.  ความหมายของคําในภาษาถิ่นแตกตางไปจากภาษากลาง  เชน  คําวารักษา  ภาษาถิ่นใต

               มีความหมายวา  เลี้ยง  เชน  นําลิงไปรักษา  หมายถึงนําลิงไปเลี้ยง  บัวลอย  ภาษาถิ่นเหนือหมายถึง
               ผักตบชวา แพรนม ภาษาถิ่นอีสานหมายถึง ผาเช็ดหนา  ภาษาถิ่นใตเรียกผาเช็ดหนาวา ผานุย  เปนตน






               กิจกรรมที่ 2  ใหผูเรียนเขียนเครื่องหมาย วงกลม ลอมรอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
                       1.  ขอใดใหความหมายภาษาถิ่นไดถูกตอง

                         ก.  ภาษาตระกูลตาง ๆ            ข. ภาษาที่พูดกันในทองถิ่นนั้น ๆ
                         ค.  ภาษาที่ใชพูดกันทั่วประเทศ   ง. ภาษาของชนกลุมใหญทั่วโลก

                       2.  ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดภาษาถิ่น

                         ก.  สภาพภูมิประเทศ              ข. การยายถิ่นฐาน
                         ค.  การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม       ง. ถูกทุกขอ

                       3.  คําในขอใดที่เปนคําเฉพาะของภาษาถิ่นภาคเหนือ

                         ก.  งอ                         ข. งอน
                         ค.  งืด                         ง. งีบ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73