Page 70 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 70

61


                       ลักษณะของวรรณกรรมทองถิ่น

                       1.  วรรณกรรมทองถิ่น โดยทั่วไปมีวัดเปนศูนยกลางเผยแพร กวีผูประพันธสวนมาก คือ พระภิกษุ
               และชาวบาน

                       2.  ภาษาที่ใชเปนภาษาถิ่น  ใชถอยคําสํานวนทองถิ่นที่เรียบงาย  ชาวบานทั่วไปรูเรื่องและ

               ใชฉันทลักษณที่นิยมในทองถิ่นนั้น เปนสําคัญ
                       3.  เนื้อเรื่องสวนใหญเปนเรื่องจักร ๆ  วงศ ๆ  มุงใหความบันเทิง  และสอดแทรกคติธรรมทาง

               พุทธศาสนา

                       4.  ยึดคานิยมแนวปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหงกรรม หรือธรรมะยอมชนะอธรรม เปนตน

                       ประเภทของวรรณกรรมทองถิ่น


                       วรรณกรรมทองถิ่น แบงไดเปน 2 ประเภท คือ

                       1.  ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขียนเปนลายลักษณ เปนวรรณกรรมปากเปลา
               จะถายทอดโดยการบอก หรือการเลาหรือการรอง ไดแก บทกลอมเด็ก นิทานพื้นบาน เพลงพื้นบาน ปริศนา

               คําทาย ภาษิต สํานวนโวหาร คํากลาวในพิธีกรรมตาง ๆ
                       2.  ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตรในทองถิ่นและ

               ตําราความรูตาง ๆ
                       คุณคาของวรรณกรรมทองถิ่น

                       1.  คุณคาตอการอธิบายความเปนมาของชุมชนและเผาพันธุ

                       2.  สะทอนใหเห็นโลกทัศนและคานิยมตาง ๆ ของแตละทองถิ่น โดยผานทางวรรณกรรม
                       3.  เปนเครื่องมืออบรมสั่งสอนจริยธรรมของคนในสังคมสามารถนําไปประยุกตใชในสังคมปจจุบันได

                       4.  เปนแหลงบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม  ประเพณี  และการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น

                       5.  ใหความบันเทิงใจแกชุมชนทั้งประเภทที่เปนวรรณกรรมและศิลปะการแสดงพื้นบาน เชน
               หมอลําของภาคอีสาน การเลนเพลงเรือ เพลงเกี่ยวขาว ของภาคกลาง การซอ การเลาคาวของภาคเหนือ

               การเลนเพลงบอก รองมโนราหของภาคใต เปนตน

                       6.  กอใหความสามัคคีในทองถิ่น เกิดความรักถิ่นและหวงแหนมาตุภูมิ

                       รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่น


                       1.  รูปแบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคกลาง
                         1.1  กลอนสวด หรือเรียกวา คําพากย ไดแก กาพยยานี ฉบัง สุรางคนางค

                         1.2  กลอนบทละคร  (นอก)  ใชฉันทลักษณเหมือนกลอนบทละครทั่วไป แตไมเครงครัด
               จํานวนคําและแบบแผนมากนัก

                         1.3  กลอนนิทาน บทประพันธเปนกลอนสุภาพ (กลอนแปด) เปนรูปแบบที่ไดรับความนิยมมาก

                         1.4  กลอนแหล นิยมจดจําสืบตอกันมาหรือดนกลอนสด ไมนิยมบันทึกเปนลายลักษณ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75