Page 65 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 65

56


                         3.3  การเลนคํา หมายถึง การนําคําพองรูปพองเสียงมาเรียบเรียงหรือรอยกรองเขาดวยกัน
               จะทําใหเกิดเสียงไพเราะและเพิ่มความงดงามทางภาษา เชน


                                   ปลาสรอยลอยลองชล            วายเวียนวนปนกันไป
                               เหมือนสรอยทรงทรามวัย            ไมเห็นเจาเศราบวาย


               คําวา “สรอย” คําแรกเปนชี่อปลา

               คําวา “สรอย” คําหลังหมายถึงสรอยคอ
                         3.4  การใชคําอัพภาส หมายถึง คําซ้ําชนิดหนึ่ง โดยใชพยัญชนะซ้ําเขาไปขางหนาคํา เชน

               ริก เปน ระริก ยิ้ม เปน ยะยิ้ม แยม เปน ยะแยม
                       การใชคําอัพภาสหลาย ๆ คําในที่ใกลกัน ทําใหแลเห็นภาพและเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ

               ตามไปดวย เชน สาดเปนไฟยะแยง แผลงเปนพิษยะยุง พุงหอกใหญ คะควางขวางหอกซัดคะไขว

                                                        (ลิลิตตะเลงพาย)
                         3.5  การใชโวหารภาพพจน โวหารภาพพจน หมายถึง ถอยคําที่เรียบเรียงโดยไมกลาวอยาง

               ตรงไปตรงมา  ผูประพันธมีเจตนาจะใหผูอานเขาใจ  และประทับใจยิ่งขึ้นกวาการใชคําบอกเลาธรรมดา
               การใชโวหารภาพพจนอาจทําไดหลายวิธี เชน

                               3.5.1  เปรียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง ในการเปรียบเทียบนี้จะมีคําแสดงความหมาย

               อยางเดียวกับคําวาเหมือน ปรากฏอยูดวย ไดแกคําวา เปรียบเหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดุจดัง ราวเพียง เชน
                               คุณแมหนาหนักเพี้ยง      พสุธา (เพี้ยง-โทโทษ มาจากคําวาเพียง)

                               คุณบิดรดุจอา             กาศกวาง

                               3.5.2 เปรียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง บางตําราเรียกวาอุปลักษณ เชน พอแม คือ รมโพธิ์
               รมไทรของลูก

                               ราชาธิราชนอม            ใจสัตย

                               อํามาตยเปนบรรทัด       ถองแท

                               3.5.3  สมมุติสิ่งตาง ๆ ใหมีกิริยาอาการเหมือนมนุษย หรือที่เรียกวาบุคลาธิษฐาน เชน

               น้ําเซาะหินรินรินหลากไหล  ไมหลับเลยชั่วฟาดินสลาย
                               3.5.4 การใชคําสัญลักษณหรือสิ่งแทนสัญลักษณ หมายถึง สิ่งหนึ่งใชแทนอีกสิ่งหนึ่ง เชน

               แมนเปนบัวตัวพี่เปนภุมรา เชยผกาโกสุมประทุมทอง

                         3.6  การกลาวเกินจริง หรือที่เรียกวา อติพจน (อธิพจน) การกลาวเกินจริงนี้ปรากฏอยูในชีวิต
               ตามปกติ เชน เมื่อเราตองการจะเนนความรูสึกบางอยาง เชนกลาว “เหนื่อยสายตัวจะขาด” หรือ “รอน

               แทบสุก” การกลาวเกินจริง ทําใหเกิดความแปลกและเรียกรองความสนใจไดดี
                         3.7  การเลนเสียงวรรณยุกต  กวีใชคําที่ประกบดวยสระ พยัญชนะและตัวสะกด

               อยางเดียวกันตางกันแตวรรณยุกต โดยนํามาเรียงไวในที่ใกลกันทําใหเกิดเสียงไพเราะดุจเสียงดนตรี เชน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70