Page 62 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 62

53


                         2.2  สภาพสังคมที่ไมยอมรับหญิงมาย  หญิงใดเปนมายก็จะถูกดูหมิ่นเหยียดหยามจากสังคม
               และไมมีใครอยากไดเปนคูครอง

                       3.  ดานคานิยม
                         3.1  คานิยมเกี่ยวกับการทํางาน  โดยการทําทานเปนการเสียสละ เพื่อเพื่อนมนุษยและ

               หวังในผลบุญนั้นจะสงใหตนสบายในชาติตอไป ความคิดนี้ยังฝงอยูในใจคนไทยมาทุกสมัย จึงนิยมทําบุญ

               บริจาคทาน
                         3.2  ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องชางเผือก ชางเผือกถือวาเปนชางคูบารมีพระมหากษัตริย

               และความเชื่อนั้นยังปรากฏมาจนถึงปจจุบันนี้

                       4.  ดานความรู
                         ใหความรูเกี่ยวกับการสัตตสดกมหาทาน  ซึ่งในสมัยอยุธยาก็ปรากฏการทําทานลักษณะนี้

               ในสมัยพระเจาปราสาททองและประเทศที่เปนเมืองขึ้นประเทศอื่นตองสงเครื่องบรรณาการมาถวาย


               เรื่องที่ 5  หลักการวิจารณวรรณกรรม

                       เมื่อกลาวถึงวรรณกรรมยอมเปนที่เขาใจกันทั่วไปวา  หมายถึง งานเขียนดานตาง ๆ  ในรูปของ

               บทละคร  สารคดี    เรื่องสั้น    นวนิยาย  และกวีนิพนธซึ่งมีมาตั้งแตโบราณแลวทั้งที่เปนรอยแกวและ
               รอยกรอง

                       ลักษณะของวรรณกรรม

                       1.  วรรณกรรมเปนงานประพันธที่แสดงความรูสึกนึกคิด โดยทั่วไปมนุษยจะพูดหรือเขียนแลวจะสง
               ความรูสึกนึกคิด อยางใดอยางหนึ่ง เชน ฝนตก ตนไมสีเขียว ความรูสึก จะสัมผัสไดทางกายและใจ  เชน

               รูสึกหนาว รูสึกรอน เปนตน  สวนความคิดคือ สิ่งที่เกิดจากการใชสติปญญาใครครวญเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
               มากระทบอารมณ

                       2.  วรรณกรรมเปนงานประพันธที่เกิดจากจินตนาการ เปนการสรางภาพขึ้นในจิตใจ จากสิ่งที่เคยพบ

               เคยเห็นในชีวิต สิ่งที่สรางสรรคขึ้นมาจากจินตนาการออกจะมีเคาความจริงอยูบาง
                       3.  วรรณกรรมเปนงานประพันธใชภาษาวรรณศิลป เชน คําวาใจกวางเหมือนแมน้ํา หรือหิมะขาว

               เหมือนสําลี เปนตน




                       ประเภทของวรรณกรรม
                       ในปจจุบันวรรณกรรมแบงประเภท โดยดูจากรูปแบบการแตงและการแบงตามเนื้อหาออก

               เปน 4 ประเภท คือ

                       1.  ประเภทรอยแกว คือ วรรณกรรมที่ไมมีลักษณะบังคับ ไมบังคับจํานวนคํา สัมผัส หรือเสียงหนัก
               เบาวรรณกรรมที่แตงดวยรอยแกว ไดแก นิทาน นิยาย นวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ ขาว
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67