Page 58 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 58

49


                       ลักษณะของหนังสือที่เปนวรรณคดี

                       1.  มีโครงเรื่องดี ชวนอาน มีคุณคาสาระและมีประโยชน

                       2.  ใชสํานวนภาษาที่ประณีต มีความไพเราะ

                       3.  แตงไดถูกตองตามลักษณะคําประพันธ
                       4.  มีรสแหงวรรณคดีที่ผูอานคลอยตาม

                       “วรรณคดีมรดก” หมายถึง วรรณคดีที่บรรพบุรุษหรือกวีสมัยกอนแตงเอาไวและเปนที่นิยมอาน

               กันอยางแพรหลาย ความนิยมนั้นตกทอดเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งเปรียบเสมือนมรดกอันล้ําคาของชาติ
               ที่บรรพบุรุษมอบไวแกอนุชนรุนหลังใหเห็นความสําคัญของวรรณคดีมรดก

                       วรรณคดีมรดกมักจะแสดงภาพชีวิตของคนในสมัยกอนที่มีการประพันธวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ โดยไม

               ปดบังสวนที่บกพรอง ทั้งยังแทรกแนวคิด ปรัชญาชีวิตของกวีไวดวย
                       วรรณคดีมรดกมีคุณคาในดานประวัติศาสตร สังคม อารมณ วรรณศิลป ตลอดจนใหคติสอนใจ

               นับเปนมรดกทางปญญาของคนในชาติ ขนบของการแตงวรรณคดีมรดก
               ขนบการแตงวรรณคดีมรดก

                       ขนบ หมายถึง ธรรมเนียมนิยม “ขนบวรรณคดี” หมายถึง ธรรมเนียมนิยมในการแตงวรรณคดี

               ที่นิยมปฏิบัติกัน ไดแก
                       1.  รูปแบบและเนื้อหา รูปแบบที่นิยมไดแก ลิลิต นิราศ เพลงยาว บทละคร โคลง ฉันท กาพย

               กลอน และราย รูปแบบและเนื้อหาจะตองเหมาะสมกันเชน ถาเปนการสดุดี วีรกรรมของกษัตริย หรือ
               วีรบุรุษ จะแตงเปนนิราศหรือเพลงยาว เปนตน

                       2.  เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับศาสนาเพื่อสั่งสอน สดุดีวีรกรรมของวีรบุรุษ หรือเพื่อระบายอารมณ

                       3.  ลักษณะการเขียนจะเริ่มดวยบทไหวครู  สดุดีกษัตริย  กลาวชมบานเมือง  แลวดําเนินเรื่อง
               หากเปนวรรณคดีที่มีการทําสงครามจะมีบทจัดทัพดวย

                       4.  การใชถอยคํา    จะเลือกใชถอยคําที่สละสลวยมีความหมายที่ทําใหผูอานเกิดความซาบซึ้งและ

               ประทับใจ
                       หลักการพินิจและวิจารณวรรณคดี

                       การวิจารณ หมายถึง การพิจารณาเพื่อเปนแนวในการตัดสินวาสิ่งใดดีหรือสิ่งใดไมดี การวิจารณ
               วรรณคดีจะตองพิจารณาทุกขั้นตอน ทุกองคประกอบของงานเขียนมีการแยกแยะตั้งแตการใชถอยคํา

               สํานวน ภาษา รูปประโยค เนื้อเรื่อง แนวคิด การนําเสนอเนื้อหา และคุณคาทั้งดานวรรณศิลปและคุณคา

               ทางดานสังคม
                       คุณคาทางวรรณศิลป ไดแก การพิจารณาศิลปะและรูปแบบงานประพันธ โดยพิจารณาจากศิลปะ

               ในการแตงทั้งบทรอยแกวและบทรอยกรอง มีกลวิธีในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับเนื้อหา
               มีความนาสนใจและมีความคิดอยางสรางสรรค ใชสํานวนในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับ

               เนื้อหา มีความนาสนใจและมีความคิดอยางสรางสรรค  ใชสํานวนภาษาสละสลวย สื่อความหมายไดชัดเจน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63