Page 56 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 56

47


                         2.3  ดําเนินเรื่องสลับไปมา คือ การเริ่มเรื่องในตอนใดตอนหนึ่งกอนก็ได เชน อาจกลาวถึง
               อดีตแลวกลับมาปจจุบันอีก  หรือการเลาเหตุการณที่เกิดตางสถานที่สลับไปมา

                           ผูอานควรพิจารณาวากลวิธีในการดําเนินเรื่องของผูเขียนแตละแบบมีผลตอเรื่องนั้น
               อยางไร  ทําใหเรื่องนาสนใจชวนติดตามและกอใหเกิดความประทับใจหรือไม  หรือวากอใหเกิดความสับสน

                ยากตอการติดตามอาน

                       3.  ตัวละคร  ผูอานสามารถพิจารณาตัวละครในนวนิยาย ในดานตอไปนี้
                         3.1  ลักษณะนิสัยของตัวละคร

                              3.1.1   มีความสมจริงเหมือนคนธรรมดาทั่วไป คือ มีทั้งดีและไมดีอยูในตัวเอง ไมใชวาดี

               จนเปนที่หนึ่ง หรือเลวจนหาที่ชมไมพบ
                              3.1.2  มีการกระทําหรือพฤติกรรมที่สอดคลองกับลักษณะนิสัยตนเอง  ไมประพฤติ

               ปฏิบัติในที่หนึ่งอยางหนึ่งและอีกที่หนึ่งอยางหนึ่ง

                              3.1.3  การเปลี่ยนลักษณะนิสัยของตัวละครตองเปนไปอยางสมเหตุสมผล
                         3.2 บทสนทนาของตัวละคร บทสนทนาที่ดี ควรพิจารณา ดังนี้

                              3.2.1 มีความสมจริง คือ สรางบทสนทนาใหสอดคลองกับฐานะและลักษณะนิสัยของตัว
               ละครในเรื่อง

                              3.2.2 มีสวนชวยใหเรื่องดําเนินตอไปได

                              3.2.3 มีสวนชวยใหรูจักตัวละครในดานรูปรางและนิสัยใจคอ
                       4.  ฉาก  หมายถึง  สถานที่และเวลาที่เรื่องนั้น ๆ เกิดขึ้น มีหลักการพิจารณา ดังนี้

                         4.1  สอดคลองกับเนื้อเรื่อง และชวยสรางบรรยากาศ  เชน บานรางมีใยแมงมุมจับอยูตามหอง
               ฯลฯ นาจะเปนบานที่มีผีสิง คืนที่มีพายุฝนตกหนักจะเปนฉากสําหรับฆาตกรรม

                         4.2  ถูกตองตามสภาพความเปนจริง  ฉากที่มีความถูกตองตามสภาพภูมิศาสตรและเหตุการณ

               ในประวัติศาสตร จะชวยเสริมใหนวนิยายเรื่องนั้นมีคุณคาเพิ่มขึ้น
                       5.  สารัตถะ  หรือสารของเรื่อง หมายถึง แนวคิด จุดมุงหมายหรือทัศนะของผูแตงที่ตองการสื่อมา

               ถึงผูอาน  ผูแตงอาจจะบอกผูอานตรง ๆ หรือใหตัวละครเปนผูบอกหรืออาจปรากฏที่ชื่อเรื่อง แตโดยมากแลว

               ผูแตง จะไมบอกตรง ๆ ผูอานตองคนหาสาระของเรื่อง เชน เรื่องผูดีของดอกไมสด ตองการจะแสดงวา
               ผูดีนั้นมีความหมายอยางไร  เรื่องจดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตองการแสดงใหเห็นขอดีขอเสียของ

               คนไทย โดยเฉพาะน้ําใจซึ่งคนชาติอื่นไมมีเหมือน
                       นวนิยายที่ดีจะตองมีสารัตถะของเรื่องและมีคุณคาตอผูอานไมทางใดก็ทางหนึ่ง    หลักสําคัญ

               ในการเลือกวรรณกรรมในการอานตองเลือกใหตรงกับความสนใจ  มีเนื้อหาสาระตรงตามความตองการ

               เปนวรรณกรรมที่ดีใหคุณคาแกชีวิต  ดังนี้
                       1.  เนื้อหาความคิดเห็น  มีจุดมุงหมายที่ดี  มีความคิดสรางสรรค
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61