Page 59 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 59

50


                       คุณคาดานสังคม เปนการพิจารณาจากการที่ผูประพันธมักแสดงภูมิปญญาของตน คานิยม และ
               จริยธรรมที่สะทอนใหเห็นสภาพสังคมไดมากนอยเพียงใด หรือเกี่ยวของสัมพันธกับสังคมอยางไร มีสวนชวย

               พัฒนาสังคมหรือประเทืองปญญาของตนในสังคมชวยอนุรักษสิ่งที่มีคุณคาของชาติบานเมือง และมีสวนชวย
               สนับสนุนคานิยมอันดีงาม เปนตน

                       การพิจารณาวรรณคดี คือ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีเลมใดเลมหนึ่งอยางสั้น ๆ

               โดยมีเจตนานําวรรณคดีนั้นใหผูอานรูจักวามีเนื้อเรื่อง มีประโยชนและมีคุณคาอยางไร ผูพินิจมีความคิดเห็น
               อยางไรตอวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด ในการพินิจหรือวิจารณวรรณคดีมีหลักการ ดังนี้

                       1.  แยกองคประกอบของหนังสือหรือวรรณคดีที่วิจารณใหได

                       2.  ทําความเขาใจกับองคประกอบที่แยกออกมาใหแจมแจงชัดเจน
                       3.  พิจารณาหรือวิจารณวรรณคดีในหัวขอตอไปนี้

                         3.1 ประวัติความเปนมา

                         3.2 ลักษณะของการประพันธ
                         3.3 เรื่องยอ

                         3.4 การวิเคราะหเรื่อง
                         3.5 แนวคิดและจุดมุงหมายในการแตง ฉาก ตัวละคร และการใชภาษา

                         3.6 คุณคาดานตาง ๆ


                       การอานวรรณคดีเพื่อการวิเคราะหวิจารณ

                       การอานวรรณคดี  ผูอานควรมีจุดประสงคในการอาน เชน การอานเพื่อฆาเวลาเปนการอานที่

               ไมตองวิเคราะหวาหนังสือนั้นดีเลวอยางไร การอานเพื่อความเจริญทางจิตใจ เปนการอาน เพื่อใหรูเนื้อเรื่อง
               ไดรับรสแหงวรรณคดี  การอานเพื่อหาความรูเปนการอานเพื่อเพงเล็งเนื้อเรื่อง คนหาความหมายและหัวขอ

               ความรูจากหนังสือที่อาน  การอานเพื่อพินิจวรรณคดี จะตองอาน เพื่อหาความรูและเพื่อความเจริญทางจิตใจ

               จะตองอานดวยความรอบคอบ  สังเกตและพิจารณาตัวอักษรที่อาน และตองสามารถทราบวา วรรณคดี
               ที่อานเปนวรรณคดีประเภทใด เชน คําสอน สรรเสริญวีรบุรุษของชาติ การแสดงอารมณ บทละคร นิทาน

               และยังตองพิจารณาเนื้อเรื่องและตัวละครวาเนื้อเรื่องนั้นเปนเนื้อเรื่องเกี่ยวกับอะไร  มีแนวคิดอยางไร

               ตัวละครมีลักษณะนิสัยอยางไร  สุนทรียภาพแหงบทรอยกรองเปนอยางไร  เชน  การใชถอยคําเหมาะสม
               มีความไพเราะ และสรางมโนภาพแจมชัดมากนอยเพียงใด เปนตน ในการอานวรรณคดีประเภทรอยกรอง

               จะไดรับรสเต็มที่ บางครั้งผูอานจะตองอานออกเสียงอยางชา ๆ  หากเปนบทรอยกรองและอานเปนทํานอง
               เสนาะดวยแลว จะทําใหผูอานไดรับรสแหงถอยคํา ทําใหเกิดจินตภาพไดรับความไพเราะแหงเสียงไปดวย

                       ในการวิเคราะหวิจารณวรรณคดีนั้น ตองฝกตีความหมายของบทรอยกรอง ในชั้นแรกจะตองศึกษา

               ตัวอยางการวิเคราะหวิจารณจากการตีความหรืออานจากหนังสือที่วิเคราะหวิจารณและตีความวรรณคดี
               จากนั้นจึงตองฝกวิเคราะหวิจารณ  ฝกพิจารณาอยางรอบคอบ  การตีความแนวคิดในเรื่องวรรณคดีนั้น

               ไมจําเปนตองเหมือนกัน  ขึ้นอยูกับการมองและประสบการณของผูตีความ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64