Page 64 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 64

55


                       อันหนึ่งเราเขาก็วาเปนผูดี      มั่งมีแมมิใหลูกอายเพื่อน
                       จากคําประพันธนี้  สะทอนใหเห็นคานิยมของสตรีสมัยกอนวา  เปนผูหญิงตองรักนวลสงวนตัว

               อยูในโอวาทของมารดา เมื่อจะมีคูควรใหมารดาตกแตงใหไมชิงสุกกอนหาม สรุปวรรณกรรมทั้งปวงยอม
               แฝงไวซึ่งแนวคิดและคานิยมบางประการ  อันจะกอใหเกิดความงอกงามทางสติปญญา  และพัฒนา

               สมรรถภาพการพิจารณาความละเอียดออนทางภาษาลักษณะการใชถอยคําภาษาที่ดีในวรรณกรรม

                       วรรณกรรมที่ดียอมมีความประณีตในการใชภาษา อันจะทําใหผูอานพัฒนาสมรรถภาพ ในการ
               พิจารณาความประณีต ละเอียดออนของภาษาไดดีขึ้น

                       วรรณกรรมที่ดีเปนศิลปะแขนงที่อาศัยภาษาเปนสื่อถายทอดความไพเราะความประทับใจหรือ

               อารมณความรูสึก ซึ่งมีหลักพิจารณา 3 ประการใหญ ๆ ดังนี้
                       1.  การใชถอยคํา เสียง ความหมาย การเลือกใชถอยคําชัดเจน ตรงตามความหมายมีเสียงไพเราะ

                       2.  การเรียบเรียงถอยคํา การเรียบเรียงถอยคําใหอยูตําแหนงที่ถูกตองถูกแบบแผนของภาษา

               ยอมทําใหภาษามีความไพเราะมีความชัดเจน ทําใหผูรับสารเขาใจความคิดของผูสื่อสารไดถูกตอง
                       3.  ศิลปะการประพันธ การมีศิลปะในการประพันธ หมายความวาผูแตงตองรูจักเลือกใชถอยคํา

               ที่เหมาะสม เพื่อจะทําใหเกิดความไพเราะทางภาษา การใชกวีโวหาร หรือสํานวนโวหารจะชวยใหผูอานมอง
               เห็นภาพชัดเจน และเกิดความไพเราะทางภาษามากขึ้น ตอไปนี้จะกลาวถึงศิลปะการประพันธพอสังเขป

                         3.1  ไวพจน  หมายถึง  การใชคําที่มีความหมายอยางเดียวกัน  ซึ่งตองพิถีพิถันเลือกใชให

               เหมาะสมกับเนื้อหา เชน
                         พอสบเนตรวนิดามารศรี            แรงฤดีดาลเลหเสนหา

                       ดังตองศรซานพิษดวยฤทธิ์ยา      เขาตรึงตราตรอมตรมระทมทรวง
                       ตะลึงเล็งเพงแลชะแงพักตร       จนนงลักษณหลีกไปควรโลลวง

                       ใหเสียวปลาบวาบไหวใจระลวง        ปะหนึ่งดวงจิตดับเพราะลับนาง


                                         (จากคําประพันธบางเรื่อง ของพระยาอุปกิตศิลปสาร)
                       คําที่มีความหมายวาผูหญิง ในที่นี้มี 4 คํา คือ วนิดา มารศรี นงลักษณ บางกวีสามารถเลือกใชได

               เหมาะสมกับเนื้อความในเรื่อง
                         3.2  การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติและเสียงตาง ๆ การนําเสียงที่ไดยินจากธรรมชาติ

               มารอยกรองพรรณนาใหเกิดความรูสึกเหมือนไดยินทําใหเกิดความไพเราะนาฟงและสะเทือนอารมณ เชน

                         ครืนครืนใชฟารอง             เรียมครวญ
                       หึ่งหึ่งใชลมหวน                 พี่ให

                       ฝนตกใชฝนนวล                     พี่ทอด ใจนา

                       รอนใชรอนไฟไหม                ที่รอนกลกาม
                                         (ตํานานศรีปราชญ ของพระยาปริยัติธรรมธาดา)

               คําวา “ครืนครืน” เปนการเลียนเสียงฟารอง
               คําวา “หึ่งหึ่ง” เปนการเลียนเสียงลมพัด
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69