Page 63 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 63

54


                       2.  ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมที่มีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวา ฉันทลักษณ เชน
               โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลิลิต วรรณกรรมที่แตงดวยคําประเภทรอยกรอง ไดแก บทละคร นิยาย

               บทพรรณนา บทสดุดี บทอาเศียรวาท
                       3.  ประเภทสารคดี คือ วรรณกรรมที่มีเนื้อหาสาระใหความรู ความคิดและอาจใหความบันเทิง

               ดวย เชน สารคดีทองเที่ยว ชีวประวัติ บันทึกจดหมายเหตุ หนังสือคติธรรม บทความ เปนตน

                       4.  ประเภทบันเทิงคดี คือ วรรณกรรมที่แตงขึ้นโดยอาศัยเคาความจริงของชีวิตหรือจินตนาการ
               โดยมุงใหความบันเทิงแกผูอานเปนลําดับ ไดแก เรื่องสั้น นิทาน นวนิยาย บทละครพูด เปนตน


                       วรรณกรรมที่ไดรับการยกยอง


                       ในการอานหนังสือแตละเลม โดยเฉพาะหนังสือประเภทวรรณคดี ผูอานยอมไดรับประสบการณ
               ทางอารมณบาง ไดรับคุณคาทางปญญาบาง หรืออาจไดรับทั้งสองประการบาง สวนวรรณกรรมบางเรื่อง

               แมมิไดเปนวรรณคดีก็อาจใหทั้งประสบการณทางอารมณและใหคุณคาทางปญญา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูอานวาจะ

               สามารถเขาถึงวรรณกรรมนั้นไดเพียงไร วรรณกรรมบางเรื่องแตงไดดีจนไดรับการยกยอง ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้
                       งานประพันธทั้งปวงยอมแฝงไวซึ่งแนวคิดและคานิยมบางประการ อันจะกอใหเกิดความงอกงาม

               ทางสติปญญาและพัฒนาการสมรรถภาพการพิจารณาความประณีตความละเอียดออนทางภาษาไดอยางดี
               ยิ่ง  แนวคิดที่ปรากฏในวรรณกรรมนั้น อาจหมายถึง ความคิดสําคัญของเรื่องหรืออาจเปนความคิดอื่น ๆ

               สอดแทรกอยูในเรื่องก็ได
















                       ยกตัวอยางนิทานเรื่อง ปลาบูทองใหแนวคิดวาความอิจฉาริษยา ของแมเลี้ยงเปนสาเหตุใหลูกเลี้ยง

               ถูกทําทารุณกรรมอยางแสนสาหัส
                       บทรอยกรองเรื่อง น้ําตา ใหแนวคิดสําคัญวา น้ําตาเปนเพื่อนของมนุษยทั้งในยามทุกขและยามสุข

                       สวนคานิยมจากวรรณกรรมนั้น หมายถึง ความรูสึก ความคิด หรือความเชื่อของมนุษย รวมถึง
               ความเชื่อมั่น การยึดถือปฏิบัติในเรื่องตาง ๆ ในการดําเนินชีวิต คานิยมจึงเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของ

               มนุษยในการเลือกกระทําหรือเวนกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งถือวาทําหรือคิดเห็นตามกาลเวลา ยกตัวอยาง เชน

               คานิยมเรื่องการมีคูครอง ดังคํากลอนตอนหนึ่งจากเรื่องเสภาขุนชางขุนแผน    ตอนที่นางพิมพิลาไลยยัง
               เปนสาวไดพูดกับนางสานทองผูเปนพี่เลี้ยงวา

                         ธรรมดาเกิดเปนสตรี              ชั่วดีคงไดคูมาสูสอง

                       มารดายอมอุตสาหประคับประคอง     หมายปองวาจะปลูกใหเปนเรือน
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68