Page 66 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 66

57


                               “สละสละสมร               เสมอชื่อ ไมนา
                         นึกระกํานามไม                 แมนแมนทรวงเรียม”

                               หรือ
                         “จะจับจองจองสิ่งใดนั้น        ดูสําคัญคั่นคั้นอยางงันฉงน

                         อยาลามลวงลวงดูแลศกล          คอยแคะคนขนคนใหควรการ”


                         3.8  สัมผัสอักษร กวีจะใชคําที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกัน เชน โคลงกลบอักษรลวน

                               ชายชาญชัยชาติเชื้อ       เชิงชาญ

                         สูเศิกสุดเศิกสาร              สงสรอง
                         ราวรามรุทรแรงราญ               รอนราพณ

                         เกริกเกียรติไกรกึกกอง         กอกูกรุงไกร

                                         (พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว)
                         3.9  สัมผัสสระ กวีจะใชคําที่มีเสียงสระคลองจองกัน เชน

                                   เขาทางตรอกออกทางประตู
                                   คางคกขึ้นวอแมงปอใสตุงติ้ง

                                   น้ํารอนปลาเปนน้ําเย็นปลาตาย

                                   เพื่อนกินหางายเพื่อนตายหายาก

                       3.10  การใชคําปฎิพฤกษ  หมายถึง  ความขัดแยงที่กวีนํามากลาวคูกัน เพื่อแสดงคุณสมบัติ

                2   อยางที่แยงกัน อันอยูในสิ่งเดียวกัน เชน ความหวานชื่นในความขมขื่น ความเงียบเหงาในความวุนวาย


               กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนตอบคําถาม และรวมกิจกรรมตอไปนี้

               1.  วรรณคดี คืออะไร
               2.  วรรณคดีกับวรรณกรรมแตกตางกันอยางไร

               3.  ใหผูเรียนรวบรวมรายชื่อหนังสือที่เปนวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทละ 3 เลม
               4. ใหสรุปคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่รวบรวมมาไดจากขอ 3

               เรื่องที่ 6 ภาษาถิ่น

                       ความหมายของภาษาถิ่น



                       ภาษาถิ่น  หมายถึง  ภาษาที่ใชสื่อความหมายตามทองถิ่นตาง ๆ  ซึ่งจะแตกตางกันในถอยคํา

               สําเนียง แตก็สามารถจะติดตอสื่อสารกันได และถือวาเปนภาษาเดียวกัน เพียงแตแตกตางกันตามทองถิ่น

               เทานั้น
                       ภาษาถิ่น  บางที่มักจะเรียกกันวา  ภาษาพื้นเมืองทั้งนี้เพราะไมไดใชเปนภาษามาตรฐานหรือ

               ภาษากลางของประเทศ
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71