Page 76 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 76

67


                       7.  เขียนในสิ่งสรางสรรค ไมเขียนในสิ่งที่จะสรางความเสียหาย หรือความเดือดรอนใหแกบุคคลและ
               สังคม

                       การที่จะสื่อสารดวยการเขียนไดดี ผูเขียนตองมีความสามารถในดานการใชภาษาและตองปฏิบัติ
               ตามหลักการเขียนที่ดีมีมารยาท


                       การเขียนรูปแบบตาง ๆ


                       รูปแบบการเขียน    งานเขียนในภาษาไทยมี  2  รูปแบบ คือ  งานเขียนประเภทรอยกรองกับ
               งานเขียนประเภทรอยแกว ซึ่งผูเรียนไดเคยศึกษามาบางแลวในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ในที่นี้จะพูดถึง

               งานเขียนประเภทรอยแกวที่ผูเรียนจําเปนตองใชในชีวิตประจําวัน  เชน  การเขียนจดหมาย  การเขียน

               เรียงความ  การเขียนยอความ  การจดบันทึกและการเขียนแสดงความคิดเห็น  และงานเขียนประเภท
               รอยกรองบางประเภทเทานั้น

                       การเขียนจดหมาย

                       การเขียนจดหมาย เปนวิธีการที่นิยมใชเพื่อการสื่อสารแทนการพูด เมื่อผูสงสารและผูรับสารอยู
               หางไกลกัน เพราะประหยัดคาใชจาย มีลายลักษณอักษรเปนหลักฐานสงถึงกันไดสะดวกทุกพื้นที่ จดหมาย

               ที่เขียนติดตอกันมีหลายประเภทเปนตนวา

                       จดหมายสวนตัว เปนจดหมายที่เขียนถึงกันระหวางญาติมิตร หรือครูอาจารย เพื่อสงขาวคราว
               บอกกลาวไตถามถึงความทุกขสุข แสดงถึงความรัก ความปรารถนาดี ความระลึกถึงตอกัน รวมทั้งการเลาเรื่อง

               หรือเหตุการณที่สําคัญ การขอความชวยเหลือ ขอคําแนะนําซึ่งกันและกัน

                       จดหมายกิจธุระ เปนจดหมายที่บุคคลเขียนติดตอกับบุคคลอื่น บริษัท หางรานและหนวยงานอื่น ๆ
               เพื่อแจงกิจธุระ  เปนตนวา  การนัดหมายขอสมัครงาน  ขอความชวยเหลือและขอคําปรึกษา เพื่อประโยชน

               ในดานการงานตาง ๆ
                       จดหมายธุรกิจ เปนจดหมายที่เขียนติดตอกันในเรื่องธุรกิจ และการเงินระหวางบริษัท หางราน

               และองคการตาง ๆ
                       จดหมายราชการ หรือหนังสือราชการ เปนจดหมายที่ติดตอกันเปนทางราชการจากสวนราชการ

               หนึ่งถึงอีกสวนราชการหนึ่งขอความในหนังสือถือวาเปนหลักฐานทางราชการและมีสภาพผูกมัดถาวร

               ในราชการ จดหมายราชการจะมีเลขที่ของหนังสือมีการลงทะเบียน รับ-สง ตามระเบียบของงานสารบรรณ
                       การเขียนจดหมายแตละประเภทจะมีลักษณะแตกตางกันไป แตโดยทั่วไปจะมีแนวโนมในการเขียน

               ดังนี้

                       1.  สวนประกอบของจดหมายที่สําคัญคือ ที่อยูของเจาของจดหมาย วัน เดือน ป ที่เขียนขอความ
               ที่ตองการสื่อสาร คําขึ้นตน และคําลงทาย

                       2.  ใชภาษาที่สื่อความหมายตรง ชัดเจน สั้น กะทัดรัดไดใจความ เพื่อใหผูรับจดหมายไดทราบ

               อยางรวดเร็ว การเขียนแบบนี้มักใชในการเขียนจดหมาย กิจธุระ จดหมายธุรกิจ และจดหมายราชการ
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81