Page 78 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 78

69


                       สวนที่ 3 บทสรุปหรือความลงทาย

                       การเขียนบทสรุป หรือความลงทาย  ผูรูไดแนะนําใหเขียนหลังจากเขียนโครงเรื่องเสร็จแลว

               เพราะความลงทายจะทําหนาที่ย้ําความสําคัญของเรื่อง ชวยใหผูอานจดจําสาระสําคัญในเรื่องนี้ได หรือชวย

               ใหผูอานเขาใจจุดประสงคของผูเขียนอีกดวย วิธีการเขียนความลงทายอาจทําได ดังนี้
                       1.  สรุปความทั้งหมดที่นําเสนอในเรื่อง ใหไดสาระสําคัญอยางชัดเจน

                       2.  นําเรื่องที่เปนสวนสําคัญที่สุดในเนื้อเรื่องมากลาวย้ําตามจุดประสงคของเรื่อง

                       3.  เลือกคํากลาวที่นาเชื่อถือ สุภาษิต คําคมที่สอดคลองกับเรื่องมาเปนความลงทาย
                       4.  ฝากขอคิดและแนวปฏิบัติใหกับผูอาน เพื่อนําไปพิจารณาและปฏิบัติ

                       5.  เสนอแนวคิดหรือขอใครครวญลักษณะปลายเปดใหผูอานนําไปคิดและใครครวญตอ

                       ลักษณะของเรียงความที่ด ี  ควรมีลักษณะที่เปนเอกภาพ  สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ
                       เอกภาพ คือ ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของเรื่องไมเขียนนอกเรื่อง

                       สัมพันธภาพ  คือ  มีความสัมพันธกันตลอดเรื่อง  หมายถึง ขอความแตละขอความหรือแตละ

               ยอหนาจะตองมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด
                       สารัตถภาพ คือ การเนนสาระสําคัญของยอหนาแตละยอหนาและของเรื่องทั้งหมด โดยใชถอยคํา

               ประโยค ขอความที่กระชับ ชัดเจน สื่อความเรื่องทั้งหมดไดเปนอยางดียิ่ง

                       การเขียนยอความ


                       การยอความ คือ การนําเรื่องราวตาง ๆ มาเขียนใหมดวยสํานวนภาษาของผูยอเอง เมื่อเขียนแลว
               เนื้อความเดิมจะสั้นลง แตยังมีใจความสําคัญครบถวนสมบูรณ การยอความนี้ ไมมีขอบเขตวาควรจะสั้นหรือ

               ยาวเทาใดจึงจะเหมาะ เพราะบางเรื่องมีพลความมากก็ยอลงไปไดมาก แตบางเรื่องมีใจความสําคัญมาก

               ก็อาจยอได 1 ใน 2 หรือ 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 4 ของเรื่องเดิมตามแตผูยอจะเห็นสมควร
                       ใจความสําคัญ  คือ  ขอความสําคัญในการพูด หรือการเขียน  พลความ  คือ ขอความที่เปน

               รายละเอียดนํามาขยายใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งขึ้น ถาตัดออกผูฟง หรือผูอานก็ยังเขาใจเรื่องนั้นได

                       หลักการยอความ จากสิ่งที่ไดอาน ไดฟง
                       1.  อานเนื้อเรื่องที่จะยอใหเขาใจ อาจมากกวา 1 เที่ยวก็ได

                       2.  เมื่อเขาใจเรื่องดีแลว จึงจับใจความสําคัญทีละยอหนาเพราะ 1 ยอหนาจะมีใจความสําคัญ

               อยางเดียว
                       3.  นําใจความสําคัญแตละยอหนา มาเขียนใหมดวยภาษาของตนเอง โดยคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ดังนี้

                         3.1  ไมใชอักษรยอในขอความที่ยอ
                         3.2  ถามีคําราชาศัพทในเรื่องใหคงไวไมตองแปลออกเปนคําสามัญ

                         3.3  จะไมใชเครื่องหมายตาง ๆ ในขอความที่ยอ เชน อัญประกาศ

                         3.4  เนื้อเรื่องที่ยอแลว โดยปกติเขียนติดตอกันในยอหนาเดียวและควรมีความยาวประมาณ
               1 ใน 4 ของเรื่องเดิม
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83