Page 16 - งานทดลอง e- book
P. 16
วิธีท า 1. เนื่องจากโจทย์สนใจแต ้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น
ดังนั้นเราต ้องเขียนแต ้มของลูกเต๋าที่มีโอกาสที่จะหงาย
ขึ้นมาทั้งหมด
และเพื่อความสะดวกให ้(a,b) แทนผลลัพธ์ที่อาจจะ
เกิดขึ้น โดยที่
a แทนแต ้มที่หงายขึ้นของลูกเต๋าลูกแรก
b แทนแต ้มที่หงายขึ้นของลูกเต๋าลูกที่สอง
ดังนั้นแซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มคือ
S={(1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(1,5),(1,6),
(2,1),(2,2),(2,3),(2,4),(2,5),(2,6),
(3,1),(3,2),(3,3),(3,4),(3,5),(3,6),
(4,1),(4,2),(4,3),(4,4),(4,5),(4,6),
(5,1),(5,2),(5,3),(5,4),(5,5),(5,6),
(6,1),(6,2),(6,3),(6,4),(6,5),(6,6)}
2. เนื่องจากโจทย์สนใจผลรวมของแต ้มบนลูกเต๋า
ดังนั้นเราต ้องเขียนผลรวมของแต ้มบนลูกเต๋าที่มีโอกาส
เกิดขึ้นได ้ทั้งหมด
จะได ้แซมเปิลสเปซของผลรวมของแต ้มบนลูกเต๋าทั้ง 2
ลูก คือ
{2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12}
ตัวอย่างที่ 4 ในกล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 1 ลูก ถ ้า
เราหยิบลูกบอลออกจากกล่องมา 1 ลูก โดยวิธีสุ่ม
1. จงหาแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่จะเกิดขึ้น
2. จงหาแซมเปิลสเปซของลูกบอลที่หยิบออกมาได ้
วิธีท า 1. เนื่องจากโจทย์สนใจสีของลูกบอลที่จะหยิบมาได ้
ดังนั้นแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่หยิบได ้คือ
S= {สีแดง,สีขาว}
2. เนื่องจากโจทย์สนใจลูกบอลที่จะหยิบมาได ้ซึ่งมี
ทั้งหมด 3 ลูก
สมมติให ้เป็ น แดง1 แดง2 ขาว1
ดังนั้นแซมเปลิสเปซของลูกบอลที่หยิบออกมาคือ S =
{แดง1,แดง2, ขาว1}
เหตุการณ์ ( Event ) คือ เซตย่อยหรือสับเซต ( Subset ) ของแซม
เปิลสเปส ( Sample Space ) เขียนแทนด ้วยสัญลักษณ์ E