Page 66 - คมองานบรหาร_Neat
P. 66

62

                                2.1 ข้อมูลข่าวสารโดยตรง ได้แก่ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับแจ้งโดยตรงจากสื่อหรือแหล่งข้อมูลตรง

                  เช่น ข้อมูลที่ได้รับการร้องเรียนจากประชาชนทั้งจากทางโทรศัพท์ จดหมายหรือมาร้องเรียนกับเจ้าหน้าที่ด้วย
                  ตนเอง ข้อมูลที่ได้จากการเยี่ยมเยียนจากประชาชน ข้อมูลที่ได้รับจากการสอบสวนผู้ต้องหา หรือผู้ต้องสงสัย ฯลฯ

                                2.2 ข้อมูลข่าวสารโดยอ้อม เช่น ข้อมูลที่ลงตีพิมพ์ทางหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง

                  ข่าวสารแลกเปลี่ยนระหว่างท้องที่ ฯลฯ

                                2.3 ข้อมูลการส ารวจพื้นที่ล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

                            3. ประเมินผลการปฏิบัติ

                               - ประเมินผลการปฏิบัติตามแผน และผลงานที่ได้รับ

                               - ประเมินผลการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในขณะออกตรวจ

                               - ประเมินตัวต ารวจสายตรวจผู้ปฏิบัติ

                               - อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ

                                การประเมินผล นับว่าเป็นเครื่องมือส าคัญของนักบริหาร ที่จะเป็นตัววัดความส าเร็จของงาน

                  และช่วยให้ผู้บริหารใช้บุคคลให้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถเหมาะกับงาน (Put the right man on the
                  right job) ประหยัดบรรเทาความเสียหายและก่อให้เกิดขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานการติดตามและ

                  ประเมินผล มีเทคนิคและวิชาการหลายประการ ขึ้นอยู่กับลักษณะรูปแบบขององค์กร และลักษณะงาน

                                การบริหารงานสายตรวจระดับ สน./สภ. สามารถประเมินผลความส าเร็จโดยประเมินผล

                  การปฏิบัติได้จาก

                                1) สถิติทางคดีอาญาต่าง ๆ
                                        อัตราการเกิดของคดีอาญาต่าง ๆ เป็นข้อมูลที่บริหารงานสายตรวจสามารถน ามา


                  ประเมินผลการปฏิบัติโดยการวบรวมจากการับค าร้องทุกข์ของพนักงานสอบสวน ซึ่งเรียกข้อมูลประเภทนี้ว่า
                  “police report” และผู้บริหารจะต้องค านึงถึงอาชญากรรมที่เกิดขึ้นโดยต ารวจไม่รู้เพราะไม่มีผู้มาแจ้งความ


                  ด้วยเหตุผลหลายประการซึ่งเรียกข้อมูลประเภทนี้ว่า “dark figure” เช่น

                                               - อัตราคดีเกิด ที่ผู้เสียหายไม่ยอมแจ้งความเนื่องจากได้รับความอับอาย
                                               - อัตราคดีเกิด ที่มีการประนีประนอมยอมความ

                                               - อัตราคดีเกิด ที่พนักงานสอบสวนมิได้รับค าร้องทุกข์

                                               ฯลฯ

                                        รวบรวมข้อมูลเหล่านี้มาท าการวิเคราะห์ แล้วท าการเปรียบเทียบตามกลุ่มประเภทคดี

                  การเพิ่ม-ลด ของคดี อัตราร้อยละต่าง ๆ ด้วยกรรมวิธีทางสถิติเพื่อให้ทราบถึงสถานภาพอาชญากรรม ในเขตพื้นที่

                  รับผิดชอบว่าหน่วยสามารถด าเนินการให้บรรลุเป้าหมายได้หรือไม่ การวิเคราะห์เปรียบเทียบจะต้องด าเนินการ

                  ให้ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ อาจแบ่งช่วงเวลาได้ดังนี้
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71