Page 90 - คมองานบรหาร_Neat
P. 90

86

                                5.3 รายงานผลการปฏิบัติงานของสายตรวจ ระบุจ านวนเหตุที่ระงับ ค่าระยะเวลาไปถึงที่เกิด

                  เหตุแยกตามหมายเลขสายตรวจ และ/หรือ แยกตามสถานีต ารวจ


                         การปฏิบัติงานในหน้าที่ รอง ผกก.ป., สวป., ร้อยเวลา 20, สายตรวจ กับระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉิน
                  191

                         1. ก ากับให้ศูนย์วิทยุ สภ. ที่รับแจ้งเหตุจาก 191 จะต้องสั่งสายตรวจไประงับเหตุ

                         2. ขณะปฏิบัติหน้าที่จะต้องเฝ้าฟัง และก ากับดูแลให้สายตรวจเฝ้าฟังวิทยุ สามารถติดต่อสื่อสารทาง
                  วิทยุได้ตลอดเวลา เพราะ

                                2.1 วิทยุสื่อสาร เป็นเครื่องมือสื่อสารที่สะดวก สามารถติดต่อสื่อสารสั่งการเหตุได้รวดเร็วกว่า
                  โทรศัพท์

                                2.2 วิทยุสามารถกระจายเสียงไปยังสายตรวจทุกสายได้พร้อมกัน ขณะที่โทรศัพท์ติดต่อได้

                  1 ต่อ 1 (ยกเว้น Conference Call แต่ใช้เวลามาก)
                                2.3 ความถี่ของสายตรวจ ควรใช้ความถี่เดียวกับศูนย์รับแจ้งเหตุ เพื่อให้การสื่อสารสั่งการ

                  เหตุจากศูนย์ฯ ไปยังสายตรวจรวดเร็ว โดยอาจท าได้โดย
                                        1) ใช้ความถี่เดียวกันทั้งหมด เหมาะกับพื้นที่ที่มีขนาดไม่ใหญ่มาก มีลูกข่าย

                  ไม่หนาแน่นมากนัก

                                        2) ใช้ระบบ SCAN เพื่อฟังทั้งความถี่ของศูนย์รับแจ้งเหตุ และความถี่ของแต่ละ บก.
                  หรือ สน./สภ. ซึ่งควรใช้ในกรณีที่เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ มีลูกข่ายจ านวนมาก แต่ละสถานีต ารวจมีความถี่เฉพาะ

                  ก็ปรับระบบวิทยุของสายตรวจให้สามารถฟังได้ทั้งความถี่ของศูนย์รับแจ้งเหตุ และความถี่ของสถานี (ความถี่รับ)

                  เมื่อศูนย์ฯ สั่งการให้สายตรวจไประงับเหตุ สายตรวจจะได้รับฟังได้ตั้งแต่โอกาสแรก แต่เมื่อสายตรวจ
                  จะเรียกกลับให้ไปเรียกทางช่องของสถานี (ความถี่ส่ง)

                         3. ก ากับดูแลให้สายตรวจไปที่เกิดเหตุ เมื่อได้รับแจ้งจากศูนย์ 191 ตามเวลาที่ควร ดังนี้
                                3.1 ภายใน 5 นาที ส าหรับเขต กทม. หรือ เทศบาลหลัก

                                3.2 ภายใน 15 นาที ส าหรับนอกเขตเทศบาลหลัก (เขตสายตรวจต าบล)

                                ค าว่าเทศบาลหลัก หมายถึงว่าในปัจจุบัน แต่ละสถานีต ารวจภูธร จะมีหลายเทศบาล
                  แต่จะมี 1 เทศบาล ซึ่งเป็นเทศบาลหลักรับผิดชอบพื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของสถานีต ารวจนั้น ๆ การจัดสายตรวจ

                  จะมีการจัดสายตรวจรถจักรยานยนต์แบ่งเขตตรวจตลอด 24 ชั่วโมง การไประงับเหตุในพื้นที่นี้จึงไม่ควรเกิน
                  5 นาที ส่วนเทศบาลอื่นที่อยู่รอบนอก จะเป็นความรับผิดชอบของสายตรวจต าบล มีการจัดก าลังและ

                  การบริหารที่แตกต่างออกไป แต่สายตรวจก็ไม่ควรไปถึงที่เกิดเหตุช้ากว่า 15 นาที

                         4. กรณีสายตรวจติดภารกิจ ให้สั่งการสายตรวจอื่นไประงับเหตุ หรือไประงับเหตุด้วยตนเอง
                         5. กรณีสายตรวจไม่รับวิทยุ ให้สั่งการสายตรวจอื่นปฏิบัติ และตรวจสอบแก้ไข

                         6. กรณีที่ศูนย์ฯ ออกอากาศสกัดจับคนร้าย ที่ใช้ยานพาหนะกระท าผิดแล้วหลบหนี จะต้องก ากับดูแล

                  ให้สายตรวจเข้าจุดสกัดจับตามแผนที่ก าหนด
                                การสกัดจับ มีปัจจัยแห่งความส าเร็จ ดังนี้
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95