Page 97 - 25620605121318noศธ 021028614file02_2
P. 97

10. ผู้จัดกำรเรียนรู้ชวนผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ และเพิ่มเติมประเด็น ดังนี้
                           10.1 กำรเลือกว่ำจะท ำหรือไม่ท ำอะไรเป็นเรื่องที่เกิดกับทุกคน กำรรู้จักควำมต้องกำรของ

                  ตัวเองจึงเป็นเรื่องพื้นฐำนของกำรตัดสินใจ แต่กำรบอกควำมต้องกำรของตัวเองอำจเป็นเรื่องไม่ง่ำย เพรำะ
                  เรำมักประสบกับแรงกดดันจำกกำรชักจูงหว่ำนล้อมหรือบีบบังคับ โดยเฉพำะจำกเพื่อนหรือคนที่เรำรัก
                           10.2 กำรยืนยันควำมต้องกำรของตัวเองจึงเป็นทักษะอย่ำงหนึ่ง ที่จะท ำให้เรำมีสัมพันธภำพ
                  กับผู้อื่นโดยที่ยังคงเป็นตัวของตัวเองได้ กำรบอกเล่ำและรับฟังควำมคิดควำมรู้สึกซึ่งกันและกันเป็นพื้นฐำน

                  ที่มั่นคงของมิตรภำพ กำรยอมรับว่ำเพื่อน/แฟนย่อมมีควำมคิดและมีทำงเลือกของตัวเองในแต่ละเรื่อง
                  ที่อำจแตกต่ำงจำกเรำได้ กำรคบหำด้วยหลักกำรเช่นนี้ เป็นเรื่องที่ทั้งสองฝ่ำยช่วยกันสร้ำงขึ้น
                           10.3 มีวิธีกำรหลำยอย่ำงที่คนเรำใช้ในกำรชักจูงคนอื่น เพื่อให้ได้สิ่งที่ตัวเองต้องกำร
                             -  ท้ำทำย “แค่นี้ก็กลัวด้วยเหรอ ไม่แน่จริง”

                             -  โต้แย้ง “ท ำไมล่ะ คนอื่นเขำก็ท ำกัน”
                             -  ขู่แกมบังคับ “ถ้ำไม่ไปก็เลิกคบดีกว่ำ”
                             -  หว่ำนล้อมให้สบำยใจ “ไม่ต้องกังวลหรอกเรื่องนี้ฉัน/ผมรับผิดชอบเอง” หรือ
                             -  ยกเหตุผลว่ำ ท ำได้ “เรำโตแล้วนะ ใคร ๆ ก็ท ำกัน”

                             กำรเท่ำทันวิธีกำรเหล่ำนี้ จะท ำให้เรำมั่นใจมำกขึ้น ที่จะบอกควำมต้องกำรของตนเอง
                  และไม่หลงไปตำมวิธีหว่ำนล้อมของคนอื่น
                           10.4 กำรปฏิเสธไม่ท ำตำมค ำชักชวนขอร้องของคนที่เรำมีควำมสัมพันธ์ใกล้ชิด อำจเป็นเรื่องที่

                  สร้ำงควำมล ำบำกใจ แต่ละบุคคลยังคงต้องรับผิดชอบชีวิตของตนเอง ไม่มีใครรับผิดชอบแทนเรำได้ เรำจึง
                  ต้องเลือกว่ำเรำต้องกำรอะไรและยอมให้เกิดอะไรขึ้นกับเรำ กำรยอมท ำตำมใจผู้อื่นแล้วตัวเองเดือดร้อน
                  เรำก็ยังต้องยอมรับว่ำ เรำนั่นเองที่ปล่อยให้เกิดขึ้น เรำไม่สำมำรถจะโทษเพื่อนได้เลยเพรำะเรำเอง
                  เป็นฝ่ำย “ยอมให้ผู้อื่นเลือก”


                  กำรวัดและประเมินผล
                         1.  สังเกตกำรมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม
                         2.  กำรอภิปรำยแลกเปลี่ยน


                  ข้อเสนอแนะส ำหรับผู้จัดกำรเรียนรู้
                         1. กำรแบ่งกลุ่มหำกจ ำนวนผู้เรียนมีสัดส่วนเพศชำยหญิงแตกต่ำงกัน หรือเพศหญิงมีจ ำนวน
                  มำกกว่ำเพศชำย ควรแก้ไขปัญหำโดยกำรแบ่งกลุ่มหญิงออกเป็น 4 กลุ่ม และรับผิดชอบกลุ่มละ

                  4 สถำนกำรณ์ ส่วนกลุ่มชำยระดมควำมคิดหำค ำตอบทั้ง 4 สถำนกำรณ์ หรือแบ่งเป็นกลุ่มหญิง 2 กลุ่ม
                  กลุ่มชำย 2 กลุ่ม รับผิดชอบกลุ่มละ 2 สถำนกำรณ์ โดยจ ำนวนสมำชิกภำยในกลุ่มอำจไม่เท่ำกันก็ได้
                         2. ในกรณีที่ผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ มีครอบครัว เป็นพ่อแม่ ควรปรับสถำนกำรณ์จ ำลอง
                  และแนวค ำถำมให้สอดคล้องกับสภำพของผู้เรียน โดยยังคงเน้นประเด็นเรื่องกำรสื่อสำรหรือบอกควำม

                  ต้องกำรต่อคู่ และเน้นกำรรักษำควำมสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เช่น
                               - เรำรู้สึกว่ำเริ่มหงุดหงิด ไม่พอใจกับกำรกระท ำของแฟน ชอบไปกินเหล้ำนอกบ้ำน หรือไม่
                  เอำใจใส่งำนบ้ำน เรำจะพูดกับแฟนอย่ำงไร








                                                                                                               93
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102