Page 10 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 10
3
เพื่อสงเสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและนําไปเปนพื้นฐานและแนวทางในการดําเนินชีวิตอันจะนําไปสูการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน
ประชาชนมีความเปนอยูรมเย็นเปนสุข สังคมมีความเขมแข็ง และประเทศชาติมีความมั่นคง
ความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่เปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแตละ
บุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศทั้งในการพัฒนาและ
บริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะ
แวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความ
รอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมีคุณธรรม ไมเบียดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซึ่งกันและกันและ
รวมมือปรองดองกันในสังคม ซึ่งนําไปสูความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนพรอมรับตอ
การเปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัตนได
หลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพัฒนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อที่จะใหพสกนิกรชาวไทยไดเขาถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไวซึ่งทฤษฎีของการพัฒนา
ที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เปนพื้นฐานของการดํารงชีวิตซึ่งอยูระหวางสังคมระดับทองถิ่นและตลาดระดับสากล
จุดเดนของแนวปรัชญานี้คือแนวทางที่สมดุล โดยใชหลักธรรมชาติที่เปนเหตุเปนผลอยางเชื่อมโยง พัฒนาให
ทันสมัย และกาวสูความเปนสากลได โดยปราศจากการตอตานกระแสโลกาภิวัตน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญในชวงป พ.ศ. 2540 เมื่อปที่ประเทศไทยตองการ
รักษาความมั่นคงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งตนเองและพัฒนานโยบาย
ที่สําคัญเพื่อการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได ซึ่งคนไทยจะ
สามารถเลี้ยงชีพโดยอยูบนพื้นฐานของความพอเพียงและการนําแนวคิดดังกลาวมาใชก็ไดผานการทดลองใน
พระตําหนักสวนจิตรลดารโหฐานและโครงการในภูมิภาคตาง ๆ หลายโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระราชดําริวา มันไมไดมีความจําเปนที่เราจะกลายเปนประเทศ
อุตสาหกรรมใหม (NIC) พระองคไดทรงอธิบายวา ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะ
ปองกันการเปลี่ยนแปลงความไมมั่นคงของประเทศได และการดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อวาจะ
สามารถปรับเปลี่ยนโครงสรางทางสังคมของชุมชนใหดีขึ้น โดยมีปจจัย 2 อยาง คือ
1. การผลิตจะตองมีความสัมพันธกันระหวางปริมาณผลผลิตและการบริโภค
2. ชุมชนจะตองมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเองอยางครบวงจร
ผลที่เกิดขึ้น คือ
1. เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไวซึ่งขนาดของประชากรที่ไดสัดสวน