Page 13 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 13

6




                                             สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

















                                     เงื อนไข ความรู้                     เงื อนไข คุณธรรม

                                (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)    นําสู่   (ซื อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน)




                                     แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 หวง 2 เงื่อนไข

                         ระบบเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอยางยั่งยืน และใชจายเงินที่
                  ไดมาอยางพอเพียงและประหยัด  ตามกําลังของเงินของบุคคลนั้น โดยหลีกเลี่ยงการกูหนี้ยืมสิน และถามี

                  เงินเหลือก็แบงเก็บออมไวบางสวน ชวยเหลือผูอื่นบางสวน และอาจจะใชจายมาเพื่อปจจัยเสริมอีกบางสวน

                  (ปจจัยเสริมในที่นี้เชน ทองเที่ยว ความบันเทิง เปนตน) สาเหตุที่แนวทางการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ไดถูก
                  กลาวถึงอยางกวางขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดํารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปจจุบันไดถูกปลูกฝง สราง

                  หรือกระตุนใหเกิดการใชจายอยางเกินตัว ในเรื่องที่ไมเกี่ยวของหรือเกินกวาปจจัยในการดํารงชีวิต เชน การ
                  บริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแตงตัวตามแฟชั่น การพนันหรือ

                  เสี่ยงโชค เปนตน จนทําใหไมมีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความตองการเหลานั้น สงผลใหเกิดการกูหนี้ยืมสิน

                  เกิดเปนวัฎจักรที่บุคคลหนึ่งไมสามารถหลุดออกมาได ถาไมเปลี่ยนแนวทางในการดํารงชีวิต
                         13 นักคิดระดับโลกเห็นดวยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ

                  บทสัมภาษณเปนการยื่นขอเสนอแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงใหแกโลก เชน

                         ศ.ดร.วูลฟกัง ซัคส นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจการ

                  ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนที่รูจักในเยอรมนี
                         ศ.ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยชาวอินเดีย เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ป 1998

                  มองวา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการใชสิ่งตาง ๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีพ และใชโอกาสให
                  พอเพียงกับชีวิตที่ดี ซึ่งไมไดหมายถึงความไมตองการ แตตองรูจักใชชีวิตใหดีพอ อยาใหความสําคัญกับเรื่อง

                  ของรายไดและความร่ํารวยแตใหมองที่คุณคาของชีวิตมนุษย
                         นายจิกมี ทินเลย กษัตริยแหงประเทศภูฎานใหทรรศนะวา หากประเทศไทยกําหนดเรื่องเศรษฐกิจ

                  พอเพียงใหเปนวาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางนี้อยางจริงจัง “ผมวาประเทศไทย

                  สามารถสรางโลกใบใหมจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสรางชีวิตที่ยั่งยืน และสุดทายจะไมหยุด

                  เพียงแคในประเทศ แตจะเปนหลักการและแนวปฏิบัติของโลก ซึ่งหากทําไดสําเร็จไทยก็คือผูนํา”
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18