Page 17 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 17

10



                  ตัวอยางเหตุผลจากการอนุมาน

                         ขอเท็จจริงใหญ  :  ลูกชายของลุงกํานันทุกคนเรียนเกง
                         ขอเท็จจริงยอย   :  พงไพรเปนลูกชายคนที่สองของลุงกํานัน

                         ขอสรุป        :  พงไพรเปนคนที่เรียนเกง


                         4.  การแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) เปนวิธีแสวงหา

                  ความรูที่ยอนกลับกับวิธีอนุมาน เปนการคนหาความรูจากขอเท็จจริงยอยๆ โดยพิจารณาจากสิ่งที่เหมือนกัน

                  ตางกัน สัมพันธกัน แลวสรุปรวมเปนขอเท็จจริงใหญ


                  ตัวอยางเหตุผลจากการอุปมาน
                         ขอเท็จจริงยอย  :  คนที่เปนโรคมะเร็งระยะสุดทาย แตละคนไมสามารถรักษาใหหายได และ

                                           จะตองตายในที่สุด
                         ดังนั้น        :  กลุมคนที่เปนโรงมะเร็งระยะสุดทายตองตายทุกคน


                         5.  วิธีการทางวิทยาศาสตร (Scientific Approach) เปนวิธีแสวงหาความรูของมนุษยที่ชารลส ดาร
                  วิน (Charles Darwin) และจอหน ดิวอี้ (John Dewey)ไดพัฒนาและนําแนวคิดเชิงยอนกลับ (Reflective

                  Thinking) และแนวคิดการแกปญหา (Problem Solving) มาเปนพื้นฐานในการคิดเปนกระบวนการศึกษา
                  ขอเท็จจริงและความรูตางๆ  โดยผานการสังเกต การดําเนินการตามแนวคิดทฤษฎีตางๆ  การทดสอบ

                  การคนพบ  การทบทวน และการทําซ้ํา  ผลิตความรูใหมจากกระบวนการที่มีความสัมพันธกันและเกี่ยวของ

                  เปนวัฏจักร โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร คือ การพิจารณาใหใกลความจริงมากที่สุด โดยอาศัยการศึกษา
                  ขอเท็จจริง ทฤษฎีและการทดสอบเครื่องมือ ดังนั้นวิธีการวิทยาศาสตร ถือวาเปนวิธีการที่มีหลักเกณฑและ

                  เหตุผลที่สามารถอธิบายไดมีลักษณะการศึกษาที่เปนระบบ  ตรงไปตรงมาปราศจากความลําเอียงและ

                  สามารถพิสูจนได ประกอบดวย 5 ขั้นตอนดวยกัน ซึ่งเรียกวาขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร ดังนี้
                           1. ขั้นปญหา (Problem) เปนการระบุและกําหนดขอบเขตของปญหาของสิ่งที่ตองการศึกษา

                  ใหชัดเจน

                           2.  ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypotheses)  เปนการคาดเดาหรือคาดคะเนคําตอบของปญหาไว
                  ลวงหนาอยางมีเหตุผล

                           3.  ขั้นรวบรวมขอมูล (Collecting  data)  เปนการรวบรวมขอมูลและขอเท็จจริงตางๆ ที่
                  เกี่ยวกับประเด็นปญหาที่กําหนด

                           4.  ขั้นวิเคราะหขอมูล (Analysis)  เปนการจัดกระทํากับขอมูลที่รวบรวม มาได โดยวิธีการ

                  ตรรกศาสตรหรือวิธีการทางสถิติ เพื่อตรวจสอบสมติฐานที่ตั้งไว
                           5. ขั้นสรุปผล (Conclusion) เปนการสรุปจากการวิเคราะหขอมูลวาขอเท็จจริงของปญหาที่

                  แทจริงนั้นคืออะไร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22