Page 22 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 22

15



                         การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูของตนเอง ครอบครัว

                  และชุมชนจะชวยใหดํารงชีวิตอยางไมเดือดรอน และเกิดความยั่งยืน โดยคํานึงถึง
                         1.  รูจักใชและจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางชาญฉลาดและรอบคอบ โดยเริ่มตนผลิตหรือบริโภค

                  ภายใตขอจํากัดของรายไดหรือทรัพยากรที่มีอยูไปกอน คือใชหลักพึ่งพาตนเอง โดยมุงเนนการผลิตพืชผลให

                  เพียงพอกับความตองการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรก เมื่อเหลือจากการบริโภคแลวจึงคํานึงถึงการ
                  ผลิต เพื่อการคาเปนอันดับรองลงมา รูจักประมาณตนโดยใชทรัพยากรอยางประหยัด ไมฟุมเฟอย

                  ในการลงทุนประกอบอาชีพใหเปนไปตามกําลังทรัพยและศักยภาพของตนเอง เชน

                            1.1 ปลูกผักสวนครัวลดคาใชจาย

                            1.2 นําน้ําที่ผานการใชแลวในครัวเรือนมารดพืชผักสวนครัว
                            1.3 นําพืชผักสวนครัวที่เพาะปลูกไดมาบริโภค แบงปนเพื่อนบาน บางสวนนําไปขายที่ตลาด

                  สวนที่เหลือนําไปเลี้ยงหมู
                            1.4 นําเงินจากการขายพืชผักสวนครัวและหมูไปซื้อสินคาและบริการที่สมาชิกในครัวเรือน

                  ตองการและมีความจําเปนในการอุปโภคบริโภค

                            1.5 เก็บออมเงินสวนที่เหลือจากการบริโภคไวใชจายในอนาคต
                            1.6 นําเงินสวนหนึ่งมาลงทุนซื้อเมล็ดพืช เพื่อเพาะปลูกตอไป

                         2.  เลือกใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด  โดยการนําทรัพยากรหรือวัสดุตางๆ ที่
                  สามารถหาไดงายในชุมชนมาใชประโยชน ใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนอยางคุมคาดวยการหมุนเวียนทุน

                  ธรรมชาติในพื้นที่ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวยตนเอง ชวยลดภาระการเสี่ยงดาน
                  ราคาจากการไมสามารถควบคุมระบบตลาด ไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากร  โดยคํานึงที่ไมเปน


                  ภัยกับสิ่งแวดลอม เชน
                            2.1 การทําไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพื่อใหมีการหมุนเวียน มีสินคาหลากหลาย

                  ลดภาวะเสี่ยงดานราคา
                            2.2  การจางแรงงานภายในชุมชน เพื่อสงเสริมใหตนเอง ครอบครัว และชุมชนมีรายได

                            2.3  การทําปุยหมักปุยคอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อลดคาใชจายและ

                  บํารุงดิน
                            2.4 การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลือใชในไรนา
                            2.5 การปลูกไมผลสวนหลังบาน และไมใชสอยในครัวเรือน

                            2.6 การปลูกพืชสมุนไพร ชวยสงเสริมสุขภาพอนามัย

                            2.7 การเลี้ยงปลาในรองสวน ในนาขาวและแหลงน้ํา เพื่อเปนอาหารโปรตีนและรายไดเสริม
                            2.8 การเลี้ยงไกพื้นเมือง และไกไข ประมาณ 10 – 15 ตัวตอครัวเรือนเพื่อเปนอาหารในครัวเรือน

                  โดยใชเศษอาหาร รํา และปลายขาวจากผลผลิตการทํานา การเลี้ยงสัตวจากการปลูกพืชไร เปนตน
                            2.9 การทํากาซชีวภาพจากมูลสัตว
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27