Page 21 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 21
14
เรื่องที่ 1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยูของตนเอง
ครอบครัว ชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตนเองทําใหอยูไดไมตองเดือดรอน มีสิ่งจําเปนที่ทําได
โดยตัวเองไมตองแขงขันกับใคร และมีเหลือเพื่อชวยเหลือผูที่ไมมี อันนําไปสูการแลกเปลี่ยนในชุมชน และ
ขยายไปจนสามารถที่จะเปนสินคาสงออก เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจระบบเปดที่เริ่มจากตนเองและ
ความรวมมือ วิธีการเชนนี้จะดึงศักยภาพของประชากรออกมาสรางความเขมแข็งของครอบครัว ซึ่งมีความ
ผูกพันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คุณคา” มากกวา “มูลคา”
ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลําดับความสําคัญของ “คุณคา” มากกวา “มูลคา” มูลคานั้น
ขาดจิตวิญญาณ เพราะเปนเศรษฐกิจภาคการเงินที่เนนที่จะตอบสนองตอความตองการที่ไมจํากัดซึ่งไร
ขอบเขต ถาไมสามารถควบคุมไดการใชทรัพยากรอยางทําลายลางจะรวดเร็วขึ้นและปญหาจะตามมา
เปนการบริโภคที่กอใหเกิดความทุกขหรือพาไปหาความทุกข และจะไมมีโอกาสบรรลุวัตถุประสงคในการ
บริโภค ที่จะกอใหเกิดความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผูบริโภคตองใชหลัก
ขาดทุนคือกําไร (Our loss is our gain) อยางนี้จะควบคุมความตองการที่ไมจํากัดได และสามารถจะลด
ความตองการลงมาได กอใหเกิดความพอใจและความสุขเทากับไดตระหนักในเรื่อง “คุณคา” จะชวยลด
คาใชจายลงได ไมตองไปหาวิธีทําลายทรัพยากรเพื่อใหเกิดรายไดมาจัดสรรสิ่งที่เปน “ความอยากที่ไมมีที่
สิ้นสุด” และขจัดความสําคัญของ “เงิน” ในรูปรายไดที่เปนตัวกําหนดการบริโภคลงไดระดับหนึ่ง แลวยัง
เปนตัวแปรที่ไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพึ่งพิงกลไกของตลาด ซึ่งบุคคลโดยทั่วไปไมสามารถจะ
ควบคุมได รวมทั้งไดมีสวนในการปองกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration Effects)
จะไมทําใหเกิดการสูญเสีย จะทําใหไมเกิดการบริโภคเกิน (Over Consumption) ซึ่งกอใหเกิดสภาพ
เศรษฐกิจดี สังคมไมมีปญหา การพัฒนายั่งยืน
ประเทศไทยอุดมไปดวยทรัพยากรและยังมีพอสําหรับประชาชนไทยถามีการจัดสรรที่ดี โดยยึด "
คุณคา " มากกวา " มูลคา " ยึดความสัมพันธของ “บุคคล” กับ “ระบบ” และปรับความตองการที่ไมจํากัด
ลงมาใหไดตามหลักขาดทุนเพื่อกําไร และอาศัยความรวมมือเพื่อใหเกิดครอบครัวที่เขมแข็งอันเปนรากฐานที่
สําคัญของระบบสังคม
ในการผลิตนั้นจะตองทําดวยความรอบคอบไมเห็นแกได จะตองคิดถึงปจจัยที่มีและประโยชนของ
ผูเกี่ยวของ มิฉะนั้นจะเกิดปญหาอยางเชนบางคนมีโอกาสทําโครงการแตไมไดคํานึงวาปจจัยตาง ๆ ไมครบ
ปจจัยหนึ่งคือขนาดของโรงงาน หรือเครื่องจักรที่สามารถที่จะปฏิบัติได แตขอสําคัญที่สุด คือวัตถุดิบ ถาไม
สามารถที่จะใหคาตอบแทนวัตถุดิบแกเกษตรกรที่เหมาะสม เกษตรกรก็จะไมผลิต ยิ่งถาใชวัตถุดิบสําหรับใช
ในโรงงานนั้น เปนวัตถุดิบที่จะตองนํามาจากระยะไกล หรือนําเขาก็จะยิ่งยาก เพราะวา
วัตถุดิบที่นําเขานั้นราคายิ่งแพง บางปวัตถุดิบมีบริบูรณ ราคาอาจจะต่ําลงมา แตเวลาจะขายสิ่งของที่ผลิต
จากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจึงทําใหราคาตก หรือกรณีใชเทคโนโลยีทางการเกษตร
เกษตรกรรูดีวาเทคโนโลยีทําใหตนทุนเพิ่มขึ้น และผลผลิตที่เพิ่มนั้นจะลนตลาด ขายไดในราคาที่ลดลง ทําให
ขาดทุน ตองเปนหนี้สิน