Page 11 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 11

4




                         2.  ใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม
                         3.  รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปจจัยภายนอก
                         ปจจุบันแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดมีการนําไปใชเปนนโยบายของรัฐบาล และปรากฏใน

                  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (1) วา “การบริหารราชการแผนดินใหเปนไป

                  เพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศอยางยั่งยืน โดยตองสงเสริมการดําเนินการตาม

                  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ”

                         การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานทางสายกลางและความไม
                  ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวที่ดีตลอดจนใชความรู


                  ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทํา
                         ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการพิจารณา 5 สวน ดังนี้

                         1.  กรอบแนวคิด  เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน

                  โดยมีพื้นฐานจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยที่นําประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลก

                  เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติเพื่อความมั่นคงและ

                  ความยั่งยืนของการพัฒนา

                         2.  คุณลักษณะของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดใน


                  ทุกระดับโดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน
                         3.  คํานิยามความพอเพียง ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ดังนี้

                              3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม

                  เบียดเบียนตนเองและผูอื่น การจะทําอะไรตองมีความพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความจําเปน เหมาะสม

                  กับฐานะของตนเอง สภาวะสังคมแวดลอม รวมทั้งวัฒนธรรมในแตละทองถิ่น และไมนอยเกินไปจนกระทั่ง

                  ไมเพียงพอที่จะดําเนินการได ซึ่งการตัดสินวาในระดับพอประมาณนั้นจะตองอาศัยความรอบรู ความ

                  รอบคอบในการวางแผนและตัดสินใจอยางมีคุณธรรมดวย  เชน ไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น


                  ไมทําใหสังคมเดือดรอน ไมทําลายธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                            3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมี

                  เหตุผล  โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น

                  อยางรอบคอบ ครบวงจรบนพื้นฐานของความถูกตอง ความเปนจริง ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย

                  หลักศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม ทั้งในระยะยาว ทั้งตอตนเอง ผูอื่น และสวนรวม การคิด


                  พิจารณาแยกแยะใหเห็นความเชื่อมโยงของเหตุ ปจจัยตางๆ อยางตอเนื่อง อยางเปนระบบจะทําใหบรรลุ
                  เปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ มีขอผิดพลาดนอย การที่จะวางแผนดําเนินการสิ่งใดอยางสมเหตุสมผล

                  ตองอาศัยความรอบรู ขยันหมั่นเพียร อดทนที่จะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและแสวงหาความรูที่ถูกตอง
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16