Page 46 - สรุปติว
P. 46

46


          3. นําเทคโนโลยีมาสนับสนุนการอํานวยความยุติธรรมการพิจารณาพิพากษาคดี และการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยคํานึงถึง
          ช่องทางอื่นที่สะดวกและประหยัดสําหรับประชาชนที่ยังไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้

                 3.1 นําเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการปฏิบัติงานของศาล เพื่อให้คู่ความเข้าถึงข้อมูลทางคดีได้โดยสะดวก และประหยัดค่าใช้จ่าย
                 3.2 นําเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการให้บริการแก่ประชาชนเพื่อลดขั้นตอน และเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ รวมทั้ง

          นํามาใช้ในการเสริมสร้างความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
                 3.3 นําเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการับฟังปัญหา ข้อขัดข้องและความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน
          กระบวนการยุติธรรม

                 3.4 นําเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการพิจารณาและพิพากษาคดี
          4. เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารงานบุคคลด้วยการสร้างสมดุลระหว่างจริยธรรม ระบบอาวุโส และความรู้ความสามารถ

                 4.1 ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ความชํานาญตลอดจนแนวปฏิบัติเพื่อนําไปสู่ความเชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่อง
          และสอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาของสังคม

                 4.2 จัดกรอบอัตรากําลังให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ประเภทและปริมาณคดี โดยคํานึงถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคม
                 4.3 สร้างเสริมจริยธรรม ความภาคภูมิใจ และความสุขของบุคลากรในการให้บริการแก่ประชาชนด้วยอัธยาศัยไมตรี

          5. สนับสนุนบทบาทของศาลในการบังคับใช้กฎหมายที่ส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม และที่ไม่ก่อภาระหรือเป็นผลร้ายต่อประชาชนและสังคม
                 5.1 สนับสนุนบทบาทของศาลในการส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม
                 5.2 สนับสนุนบทบาทของศาลในการประเมินและยกเลิกกฎหมายที่หมดความจําเป็น หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์หรือ เป็น

          อุปสรรคต่อการดํารงชีวิต หรือการประกอบอาชีพเพื่อไม่ให้ก่อภาระ หรือเป็นผลร้ายต่อประชาชนและสังคม

                 5.3 สนับสนุนบทบาทของศาลในการใช้กระบวนการยุติธรรม ทางเลือกบนพื้นฐานความสมัครใจของคู่ความ
                                             ******************************************
          1.วิสัยทัศน์ ศาลยุติธรรม คือ

                 " ศาลยุติธรรมเป็นสถาบันที่อํานวยความยุติธรรม เพื่อให้สังคมสงบสุข เป็นธรรม และเสมอภาคโดยยึดหลักนิติธรรม"
          2.พันธกิจ ศาลยุติธรรม คือ

                 1) อํานวยความยุติธรรมเพื่อสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
                 2) พัฒนาและสร้างระบบสนับสนุตการอํานวยความยุติธรรมให้มีความรวดเร็ว สะดวก ทันสมัย และเป็นสากล

                 3) เสริมสร้างความร่วมมือทางการศาลและกระบวนการยุติธรรมไทยและต่างประเทศ
                 4) ธํารงความศรัทธาและความเชื่อมั่นในการอํานวยความยุติธรรมเพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของสังคมไทยที่ยั่งยืน

          3. เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม คนปัจจุบัน ชื่อ นายสราวุธ  เบญจกุล
          4.  ศาลยุติธรรมได้กําหนดแผนยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นกรอบแนวทาง ในการดําเนินงานและพัฒนาองค์กรศาลยุติธรรมในช่วงปี พ.ศ.2561-
          2564

          5. แผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม พ.ศ.2561-2564 JUSTICE มีดังนี้
                 1) J : Justice for All   ยึดมั่นการอํานวยความยุติธรรมดัวยหลักนิติธรรม

                 2) U : Uplift and Uphold Standard  ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม
                 3) S : Stronger Specialized Court   เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชํานัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ

                 4) T : Trusted Pillar  เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอํานวยความยุติธรรม
                 5) I : Innovation  พัฒนานวัตกรรมการอํานวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม

                 6) C : Collaboration  เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านการยุติธรรมทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ




                                                     นนทวิกา วงษ์สกุล
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51