Page 78 - คู่มือ RF -kt-20-08-2018-4-45 (ฉบับเต็ม)_(29-08-18)
P. 78

ตัวอย่างเครื่องมือ

                                                                                                เอกสารที่ 1
                                           แบบประเมินความรู้ต่อการสะท้อนคิด


                                                  หัวข้อประเมิน                                          ใช่   ไม่ใช่
         1.ความหมายและความส าคัญของการสะท้อนคิด (Reflective Thinking)
           1.1 รูปแบบหนึ่งของการคิดพินิจพิเคราะห์ ตรึกตรองใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง โดยเริ่มจากความสงสัยใคร่รู้ในเรื่อง

         ที่เกี่ยวกับองค์ความรู้และใช้ความพยายามในการหาค าตอบ โดยอาศัยเหตุผลและข้อมูลอ้างอิง
           1.2 เป็นวิธีการที่ท าให้บุคคลได้ทบทวนและสะท้อนการกระท าของตน (Reflective practice) อย่างมีสติและ

         สมาธิ

           1.3 องค์ประกอบที่ส าคัญของการสะท้อนคิด คือ ความรู้สึกนึกคิด
           1.4 ช่วยให้เกิดความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ น าไปสู่การปรับปรุงตนเอง ปรับปรุงงาน และ

         การแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

           1.5 หัวใจของการสะท้อนคิดอยู่ที่ประสบการณ์ของบุคคลที่มีสิ่งเร้าให้เกิดความรู้สึกนึกคิดต่อประสบการณ์นั้น
           1.6 การคิดไตร่ตรองเป็นการคิดเชื่อมโยงกับการคิดลักษณะอื่นๆ เพราะเป็นการคิดที่ต้องการสร้างสรรค์ผู้เรียน

         การคิดไตร่ตรองเชื่อมโยงไปสู่การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)

         2. การเรียนการสอนที่ส่งเสริมการสะท้อนคิด
           2.1 การเรียนการสอนที่จะส่งเสริมการสะท้อนคิดสามารถท าได้หลายวิธี เช่น การเขียนบันทึก (Journal

         Writing) การสนทนา (Dialogue) การวิเคราะห์อุบัติการณ์ (Incident Analysis)
           2.2 การสนทนา (Dialogue) เป็นการพูดคุยเพื่อแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

         อย่างมีโครงสร้าง โดยมีการเตรียมประเด็นหรือค าถามส าหรับกระตุ้นให้เกิดการคิดอย่างมีเหตุผลและเกิดความ
         เข้าใจอย่างลึกซึ้งต่อประเด็นนั้นๆ

           2.3 การสะท้อนคิดเป็นการพัฒนาผู้เรียนทั้งวิธีการคิด และทักษะทางปัญญา พัฒนาการเรียนรู้ที่จะสามารถ

         เชื่อมโยงเนื้อหาสาระเข้าด้วยกัน จนเกิดเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
           2.4 การสอนแบบสะท้อนคิดจะได้ผลดีต้องเกิดการรับรู้ ความเข้าใจคนอื่นเป็นส าคัญและมีการสะท้อนที่เป็น

         เหตุเป็นผล

         3. ขั้นตอนการสะท้อนคิด
           3.1 การบรรยายความรู้สึกและประสบการณ์ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกหรือบรรยายความรู้สึก

         นึกคิดที่เกิดขึ้นจากการเผชิญกับประสบการณ์ เหมาะส าหรับการปฏิบัติงานด้านการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเท่านั้น
           3.2 การที่ผู้เรียนร่วมกันสะท้อนการสังเกตประสบการณ์ในหลายๆ มุมมอง หรือการที่ผู้เรียนดึงประสบการณ์

         ออกมาน าเสนอร่วมกับคนอื่นเป็นการรับรู้เรื่องราวร่วมกัน ถือเป็นขึ้นตอนหนึ่งของการสะท้อนคิด

           3.3 การเลือกประสบการณ์ที่จะน ามาใช้เป็นสิ่งจ าเป็นที่จะท าให้ผู้เรียนเกิดการสะท้อนคิดได้ดี
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83