Page 52 - BBLP ejournal2018.docx
P. 52

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



              (selection intensity) ลดลง จึงส่งผลให้เกิดการลดลงของค่าความก้าวหน้าทางพันธุกรรม (genetic gain)
              ของโคนมภายใต้สภาพแวดล้อมที่พ่อพันธุ์ถูกน าไปใช้ประโยชน์ (Mulder and Bijma, 2005)


















                                 (a)                                          (b)

              Figure 1 EBV for M305 of top 20 sires in the clusters of topography (a) and farm management (b)
                       in western part of Thailand


















                                 (a)                                          (b)
              Figure 2 Ranking of top 20 sires for M305 in the clusters of topography (a) and farm management

                       (b) in western part of Thailand


                                                  สรุปผลการทดลอง

                     อัตราพันธุกรรมส าหรับ M305 ของโคนมในพื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ราบเชิงเขา และพื้นที่ราบชายฝั่ง
              ทะเลของภาคตะวันตก มีค่า 0.195 ± 0.034 0.080 ± 0.038 และ 0.003 ± 0.031 ตามล าดับ และเมื่อ

              พิจารณาตามรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู พบว่า โคนมที่ได้รับการเลี้ยงแบบปล่อย และแบบผูกยืนโรงมีค่า
              อัตราพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305 เท่ากับ 0.090 ± 0.041 และ 0.136 ± 0.060 และเมื่อพิจารณาค่า

              ความสามารถทางพันธุกรรมส าหรับ M305 ของพ่อพันธุ์โคนมที่ใช้ประโยชน์ในแต่ละพื้นที่ และรูปแบบการ
              จัดการเลี้ยงดูของภาคตะวันตก พบว่า ไม่มีพ่อพันธุ์โคนมตัวใดที่มีค่าความสามารถทางพันธุกรรมที่ดีเด่น

              กว่าพ่อพันธุ์โคนมตัวอื่นๆ ในทุกพื้นที่ หรือทุกรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู ส าหรับค่าสหสัมพันธ์ทาง
              พันธุกรรมส าหรับ 305 ระหว่างโคนมในพื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ราบเชิงเขา และพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล รวมถึงโค

              นมที่ได้รับการเลี้ยงแบบปล่อยและแบบผูกยืนโรง ชี้ให้เห็นถึง อิทธิพลร่วมระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม


                                                           42
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57