Page 53 - BBLP ejournal2018.docx
P. 53

Journal of Biotechnology in Livestock Production



              ที่เกิดขึ้นในประชากรโคนมภาคตะวันตกของประเทศไทย และเมื่อพิจารณาค่า ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างล าดับ
              ของสเปียร์แมนร่วมกับกราฟค่าความสามารถทางพันธุกรรมส าหรับ M305 ของพ่อพันธุ์โคนมที่ถูกใช้

              ประโยชน์ในทุกพื้นที่ และทุกรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงของระดับการแสดงออก
              ของค่าความสามารถทางพันธุกรรม และล าดับของพ่อพันธุ์ที่ถูกใช้ประโยชน์ในเขตพื้นที่ หรือรูปแบบการ

              จัดการเลี้ยงดูที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรพิจารณาคัดเลือกพ่อพันธุ์โคนม และจับคู่ผสมพันธุ์พ่อพันธุ์และแม่
              พันธุ์โคนมที่มีค่าความสามารถทางพันธุกรรมจ าเพาะกับพื้นที่ หรือรูปแบบการจัดการเลี้ยงดู เพื่อเป็นการใช้

              ประโยชน์จากพันธุกรรมของพ่อพันธุ์โคนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยลดความเสี่ยงจากการคัดเลือก
              พันธุ์ที่ผิดพลาด


                                                  กิตติกรรมประกาศ

                     คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ ดร.สายัณห์  บัวบาน ที่ให้ค าปรึกษาและข้อเสนอแนะส าหรับการศึกษาครั้งนี้

              และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่เก็บ และบันทึกข้อมูลสถิติผลผลิตน ้านมศูนย์วิจัยการผสมเทียมและ
              เทคโนโลยีชีวภาพราชบุรี ตลอดจนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในพื้นที่จังหวัดราชบุรี, กาญจนบุรี, นครปฐม,

              เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัย


                                                     เอกสารอ้างอิง

              กรมปศุสัตว์. 2558. ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม รายเขตปศุสัตว์และรายภาค ปี 2558. แหล่งที่มา:
                     http://ict.dld.go.th/th2/images/stories/stat_web/yearly/2558/3.milkcow_region.pdf,

                     30 มีนาคม 2560.
              กรมอุตุนิยมวิทยา. 2550. ภูมิอากาศประเทศไทย. แหล่งที่มา:

                     http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=22, 30 มีนาคม 2560.
              ทวี อบอุ่น และสมเพชร ตุ้ยคาภีร์. 2544. การประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของลักษณะการให้นมในโคนม

                     พันธุ์ เอ เอฟ เอส. รายงานผลงานการวิจัยการปศุสัตว์ สาขาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์และการจัดการ
                     ฟาร์ม ประจ าปี 2544. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

              เทพณรงค์ นพกรวิเศษ, วิศรา ไชยสาลี, และนิธิกานต์ อินทร. 2550. เทคโนโลยีชีวภาพกับโคนมไทย. ศูนย์
                     พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

              ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ, กัญจนะ มากวิจิตร์, กฤช พจนอารี, และสิทธิพงษ์ จันทสาร. 2540. การเปรียบเทียบ
                     สมรรถภาพการปรับตัวของศักยภาพทางพันธุกรรมของพ่อพันธุ์โคนม Thai Holstein Friesian กับ

                     แหล่งพันธุกรรมพ่อพันธุ์ต่างประเทศภายใต้สภาพการเลี้ยงของประเทศไทย. น.118 - 124.  ใน
                     รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 35. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์,

                     กรุงเทพฯ.









                                                           43
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58