Page 382 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 382

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๓๕๔


                                      หากจ าเลยใช้สิทธิอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์มีค าพิพากษาแล้วก็ไม่ได้ท าให้

                  โจทก์เกิดสิทธิฎีกาแต่อย่างใด โจทก์จึงยื่นฎีกาไม่ได้ (เทียบฎีกาที่ ๖๐๗๙/๒๕๔๔)

                                      ๘.๓.๔  ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว  ถ้าโจทก์มาศาล โจทก์ขอพิจารณาคดีใหม่

                  ก่อนศาลมีค าพิพากษาได้ตามมาตรา  ๒๐๖  วรรคสาม

                                      ๘.๓.๕  กรณีที่โจทก์ไม่มาศาล  หากศาลพิพากษาให้โจทก์แพ้คดี  โจทก์ขอพิจารณา

                  คดีใหม่ได้ตามมาตรา  ๒๐๗


                            ๘.๔   จ าเลยฝ่ายเดียวขาดนัดพิจารณา  (มาตรา  ๒๐๔)

                                      กรณีจ าเลยฝ่ายเดียวขาดนัดพิจารณา ให้ศาลพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีโจทก์

                  ไปฝ่ายเดียว  โดยจดรายงานกระบวนพิจารณาว่า

                                      “นัดสืบพยานโจทก์  (หรือจ าเลย)วันนี้  โจทก์มาศาล  ฝ่ายจ าเลยทราบนัดโดยชอบ

                  แล้วไม่มาศาลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี  ถือว่าจ าเลยขาดนัดพิจารณา  จึงให้

                  พิจารณาคดีโจทก์ไปฝ่ายเดียว

                                      สืบพยานโจทก์ได้ . . . ปาก  โจทก์ส่งเอกสาร . . . ฉบับ  ศาลหมาย จ . . . ถึง จ . . .

                  ให้รวมส านวนไว้  (หรือให้แยกเก็บ)   ให้โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารให้ครบ

                                      โจทก์แถลงติดใจสืบพยานเพียงเท่านี้ (หรือแถลงขอเลื่อนไปสืบพยานโจทก์นัดหน้า)

                                      คดีเสร็จการพิจารณา  (หรืออนุญาตให้เลื่อนไปสืบพยานโจทก์ต่อ นัดหน้า . . . )

                                      ให้รอฟังค าพิพากษาวันนี้”


                                          ข้อสังเกต

                                         ๑.    เนื่องจากมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสี่และมาตรา ๑๙๘ ตรี วรรคสอง บัญญัติว่า

                   มิให้ถือว่าจ าเลยที่ขาดนัดยื่นค าให้การที่ไม่มาศาลในวันสืบพยานนั้นขาดนัดพิจารณา ดังนั้น

                  จ าเลยที่ขาดนัดพิจารณาจึงมีได้แต่เฉพาะจ าเลยที่ยื่นค าให้การ

                                                         ๒. ก่อนที่ศาลจะสั่งให้พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ ายเดียว

                  ศาลไม่จ าต้องมีค าสั่งว่าจ าเลยขาดนัดพิจารณาดังเช่นกฎหมายเดิม และกรณีที่จะถือว่าจ าเลย

                  ขาดนัดพิจารณา จะต้องเป็นที่พอใจแก่ศาลว่าได้มีการส่งหมายก าหนดวันนัดสืบพยานให้จ าเลย

                  ที่ขาดนัดพิจารณาทราบโดยชอบแล้วตามมาตรา ๒๐๕  หากยังส่งหมายเรียกและส าเนาค าฟ้อง

                  แก่จ าเลยไม่ได้ (เทียบฎีกาที่ ๕๒๕๔/๒๕๔๒) หรือศาลมีค าสั่งให้เลื่อนคดีไปท ายอมหรือนัดฟัง

                  ค าพิพากษา วันที่เลื่อนมาจึงไม่ใช่วันสืบพยานโจทก์  เมื่อจ าเลยไม่มาศาล(เทียบฎีกาที่


                  ๒๖๙๒/๒๕๔๓) จะถือว่าจ าเลยขาดนัดพิจารณาไม่ได้
   377   378   379   380   381   382   383   384   385   386   387