Page 48 - Chiang rai medical journal
P. 48
นิพนธ์ต้นฉบับ
นนท์ธิวัฒน์ ญาณะตาล , วิชช ธรรมปัญญา,
พัชรา เรืองวงศ์โรจน์
ความเป็นมา หลักการรักษาโรคด่างขาว คือ การ
โรคด่างขาว (Vitiligo)เป็นโรคที่ยังไม่ กระตุ้นเม็ดสีที่ไม่ท างานในชั้นใต้ผิวหนังให้แบ่ง
ทราบสาเหตุของการเกิดโรคที่แน่ชัด แต่มีความ เพิ่มจ านวนและ สร้างเม็ดสีขึ้นมาจนแสดงให้เห็น
เชื่อว่าเกิดจากการขาดหรือบกพร่องของรงควัตถุ ในผิวหนังชั้นบนสุดเพื่อให้เกิดการฟื้นคืนสภาพ
10
(Melanocyte) บริเวณผิวหนังหรือบริเวณต่อมผม ผิว(Repigmentation) ให้ใกล้เคียงผิวหนังเดิม
(Hair Follicle) บางครั้งเชื่อว่าอาจมีความ มากที่สุด แบ่งกลไกการคืนสภาพผิวได้เป็น
6 7
เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน หรือพันธุกรรม 3 แบบ คือ (1) การคืนสภาพผิวจากบริเวณรอบรู
ท าให้ผิวหนังมีลักษณะสีขาวเหมือนน้ านม พบได้ ขุมขน (Perfollicular) (2) การคืนสภาพผิวจาก
ร้อยละ 0.5 ของประชากรทั่วโลก สามารถพบได้ บริเวณขอบของพยาธิสภาพ (Marginal)
11
8,9
ทั้งเพศชายและหญิง เกิดได้ในทุกกลุ่มอายุ (3) การคืนสภาพผิวแบบกระจายทั่ว (Diffuse)
ร้อยละ 50 ของคนไข้ทั้งหมด เริ่มเป็นในช่วงอายุ การรักษามีหลายวิธี เช่น การใช้ ยาสเตียรอยด์
1,2
10-30 ปี โดยลักษณะที่พบจะเป็นสีขาว กลม รี ทาเฉพาะที่ ซึ่งถือว่าเป็นการรักษาวิธีมาตรฐานที่
8
ขอบเขตชัดเจน หากมีการอักเสบ จะพบว่า ใช้กันแพร่หลายในอดีตและปัจจุบัน , การฉาย
ขอบเขตแดงชัด นูนขึ้น อาจมีอาการคันหรือไม่ก็ รังสี PUVA, narrowband UVB, การทาสาร
ได้ สามารถแบ่งโรคด่างขาวได้เป็น 5 ชนิด คือ อนุพันธ์ของวิตามินดี และการใช้หลาย ๆ วิธี
ด่างขาวบริเวณเดียว (Focal Type) ด่างขาวเป็น ร่วมกัน เป็นต้น 10,1,2,13
กลุ่ม (Segmental Type) ด่างขาวกระจายตาม การพ่นก๊าซไนไตรเจนเหลว (Liquid
ส่วนต่าง ๆ (Vulgaris Type) ด่างขาวที่ปลายมือ Nitrogen) เป็นการรักษาทางเลือกหนึ่งส าหรับ
เท้าและใบหน้า (Acrofacial Type) และด่างขาว ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาโดยวิธี
1
เกือบทั้งตัว (Universal Type) ด้วยเหตุที่ผิวมี มาตรฐานโดยเฉพาะโรคด่างขาวชนิดปลายมือเท้า
5
ลักษณะแตกต่างจากผิวบริเวณข้างเคียง จึงส่งผล โดยกลไกการออกฤทธิ์เริ่มจากถูกการพ่นความ
กระทบต่อคุณภาพชีวิต และจิตใจของผู้เป็นโรค เย็นที่ผิวหนังบริเวณเป้าหมายจนกลายเป็นความ
3,4
ด่างขาวจ านวนมาก ร้อน (Heat Transfer) ท าให้เซลล์เกิดความ
โรคด่างขาวชนิดปลายมือ เป็นโรคด่าง เสียหายจากการถูกแช่แข็งจนเกิดกระบวนการ
ขาวชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ และมักจะ อักเสบของชั้นผิวหนัง และตอบสนองโดยการ
1
ลุกลามขึ้นเรื่อย ๆ เป็นชนิดที่มีการพยากรณ์ กระตุ้นสร้างเม็ดสีขึ้นมา เริ่มจากแดงก่อนแล้ว
โรคไม่ดีและไม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษาด้วย ค่อย ๆ คล้ าขึ้นซึ่งก๊าซไนโตรเจนเหลวเป็น
วิธีมาตรฐาน อาจต้องใช้การรักษาทางเลือกอื่น การรักษาด้วยวิธีความเย็นที่ดี ซึ่งมีจุดเดือดต่ า
เพิ่มเติม เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีเม็ดสี ใช้ง่าย จึงนิยมใช้มากกว่าการรักษาด้วยวิธีความ
(Melanocyte) อยู่น้อยทั้งในส่วนของความ เย็นชนิดอื่น เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
หนาแน่นของเม็ดสี ปริมาณเซลล์ต้นก าเนิด ไนตรัสออกไซด์ เป็นต้น ซึ่งมีจุดเดือดที่สูงกว่า
14
(Stem Cell) และปัจจัยกระตุ้นเซลล์ต้นก าเนิด ประสิทธิผลน้อยกว่า
5
(Stem Cell Factor)
48 >> เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL