Page 57 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 57

54





              ของเมือง ได้มีการน าหลักการปลูกป่านิเวศตามหลักการของ ศาสตราจารย์ ดร.อาคิระ มิยาวากิ มาใช้ในการสร้างพื้นที่สี
              เขียวที่มีความหลากหลายในชนิดพันธุ์ไม้ท้องถิ่นบริเวณสวนสาธารณะให้แก่ชุมชน เพื่อน าไปสู่การปรับทิศทางการพัฒนา
              เมืองสู่ทิศทางการพัฒนาเมืองต้นแบบด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน



















                             ป่านิเวศ ณ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เทศบาลต าบลเมืองแกลง

                     นอกจากนี้ จากคุณประโยชน์ในการเป็นแหลงกักเก็บคาร์บอนของป่านิเวศ กลุ่มการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

              ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม จึงได้พัฒนาโปรแกรมวิธีการค านวณและประมวลผลการกักเก็บคาร์บอนในต้นไม้
              และพื้นที่ป่าเพื่อเผยแพร่แก่ให้หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน นักเรียน และผู้สนใจทั่วไปน าใช้
              ประโยชน์ในการน าไปใช้ในการประเมินการกักเก็บคาร์บอนของป่าไม้ของหน่วยงาน โดยโปรแกรมนี้มีพื้นฐานการ
              ประมาณค่าจากสมการแอลโลเมตรีของป่าประเภทต่าง ๆ  ได้แก่ 1. ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา 2. ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง
              3. ป่าดิบชื้น ป่าสนเขา (สนสองใบ) 5. ป่าสนเขา (สนสามใบ) 6. ป่าโกงกาง 7. พรรณไม้ป่าชายเลนชนิดอื่น ๆ และ

              สามารถเข้าถึงการใช้งานได้ที่ http://www.tccnclimate.com

















              เทคนิคความส าเร็จ

                       ผู้บริหารขององค์กรมีนโยบายและเป้าหมายการด าเนินงานการปลูกป่านิเวศเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่าง
              เข้มแข็ง
                       ประชาชน องค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่มีส่วนร่วมในการด าเนินงานตั้งแต่ปลูก ดูแลรักษา และสามารถใช้ประโยชน์ร่วมกัน

                       การสร้างความตระหนักและจิตส านึกในการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวและป่านิเวศ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62