Page 60 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 60
57
เกณฑ์ ค าอธิบาย
เกณฑ์ที่ 12 การพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อสร้าง ส่งเสริมให้มีการปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ เช่น สัก พะยูง มะค่าโมง ประดู่ป่า โดย
มูลค่าทางเศรษฐกิจจากเนื้อไม้ จะต้องด าเนินการจัดท าข้อมูลการเติบโตของต้นไม้ ประเมินน้ าหนักเนื้อไม้ หรือ
ปริมาตรเนื้อไม้ และประเมินมูลค่าจากเนื้อไม้ของต้นไม้
เกณฑ์ที่ 13 การพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อสร้าง ส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจก ผ่านคาร์บอนเครดิต โดยจะต้องด าเนินการส ารวจ
มูลค่าทางเศรษฐกิจจากตลาดคาร์บอน และจัดท าข้อมูลการเติบโตของต้นไม้ ประเมินการกักเก็บคาร์บอน ประเมินมูลค่า
ด้านตลาดคาร์บอน เผยแพร่ข้อมูล และสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก
เกณฑ์ที่ 14 การวางแผนเพื่อพัฒนาพื้นที่สีเขียว ส่งเสริมให้อปท. พัฒนาพื้นที่สีเขียว โดยจะต้องด าเนินการ ก าหนดนโยบาย
อย่างยั่งยืน เป้าหมาย แผนงาน รวมทั้งก าหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการ ในการพัฒนาพื้นที่สี
เขียวของ อปท.
เกณฑ์ที่ 15 การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้อปท. มีการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว โดยจะต้องมีการพัฒนาศักยภาพ
เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียว บุคลากร บูรณาการปฏิบัติงาน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่เหมาะสม
บริหารความเสี่ยง และวางแผน บริหารงานเชิงรุกในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว
เกณฑ์ที่ 16 การปกปักและปลูกรักษา ส่งเสริมให้อปท. ดูแลรักษาพันธุ์พืชท้องถิ่น โดยจะต้องด าเนินการ ก าหนดพื้นที่ปก
พันธุกรรมพืชพื้นถิ่น ปัก (ถ้ามี) จัดหาและรวบรวมพันธุกรรมพืชพื้นถิ่น จัดท าทะเบียน การเพาะกล้าไม้
และการปลูกรักษา ดูแลรักษา ติดตามการเจริญเติบโต
เกณฑ์ที่ 17 การอนุรักษ์ไม้ใหญ่ เป็นการอนุรักษ์ไม้ใหญ่หรือไม้ยืนต้นที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป หรือมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตรขึ้นไป โดยจะต้องด าเนินการจัดท า
ทะเบียน จัดท าป้ายชื่อ ดูแลรักษา และเผยแพร่ข้อมูล
เกณฑ์ที่ 18 การพัฒนาพื้นที่สีเขียวให้เป็น เป็นการพัฒนาแหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ที่สนับสนุน
แหล่งเรียนรู้ ส่งเสริมให้หาความรู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยและต่อเนื่อง โดยจะต้อง
ด าเนินการจัดท าข้อมูลพันธุ์ไม้ จัดท าสื่อเรียนรู้ จัดให้มีเจ้าหน้าที่ หรือวิทยากร และ
มีกิจกรรมการเรียนรู้
เกณฑ์ที่ 19 นวัตกรรมการจัดการพื้นที่สีเขียว นวัตกรรม (innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรู้ในศาสตร์ต่างๆ
ในเมืองอย่างยั่งยืน อย่างบูรณาการ กับทักษะประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาขึ้น
โดยจะต้องด าเนินการพัฒนาพื้นที่สีเขียว ปลูกป่านิเวศ การบูรณาการร่วมกับ
สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ขยายผลสู่ชุมชน และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
เกณฑ์ที่ 20 การจัดท าข้อมูลพื้นที่สีเขียว เป็นการจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่และต าแหน่งพื้นที่สีเขียว ข้อมูลชนิดพันธุ์ไม้ การเติบโต
ของเส้นผ่าศูนย์กลาง ความสูง และจ านวนต้นไม้ และเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อ
ผลลัพธ์ (Output)
มีพื้นที่สีเขียวในเมืองและชุมชนเพิ่มขึ้น
กลไกการจัดการพื้นที่สีเขียวในเมืองและชุมชน
ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในเมืองและชุมชน