Page 59 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 59
56
เกณฑ์การประเมินพื้นที่สีเขียวในเมืองและชุมชน ได้ก าหนดเกณฑ์ประเมินโดยพิจารณาทั้งมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเชิง
ปริมาณ มาตรฐานพื้นที่สีเขียวเชิงคุณภาพ และมาตรฐานพื้นที่สีเขียวเชิงการบริหารจัดการ ดังนี้
เกณฑ์ ค าอธิบาย
เกณฑ์ที่ 1 เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่สีเขียวในเมือง มีพื้นที่สีเขียวตามประเภทของ อปท. คือ เทศบาลนคร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และชุมชนรวม รูปแบบพิเศษ = ร้อยละ 15 เทศบาลเมือง = ร้อยละ 20 และเทศบาลต าบล
องค์การบริหารส่วนต าบล = ร้อยละ 25
เกณฑ์ที่ 2 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อการบริการ มีพื้นที่สีเขียวและที่โล่งที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปใช้บริการ ในเขตเมืองและ
สาธารณะ ชนบท ร้อยละ 5
เกณฑ์ที่ 3 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวเพื่อคุณภาพ มีสัดส่วนพื้นที่สีเขียวเพื่อการบริการสาธารณะตามมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก
ชีวิตที่ดี (WHO) คือ 9 ตารางเมตร/ประชากรหนึ่งคน
เกณฑ์ที่ 4 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวบริเวณทาง มีต้นไม้ริมทางสัญจรทั้งทางบก น้ า เกาะกลางถนน เฉลี่ย 10 เมตร/ต้น หรือ 100
สัญจร ต้น/ไร่
เกณฑ์ที่ 5 การพัฒนาพื้นที่สีเขียวเฉพาะ พื้นที่สีเขียวเฉพาะ ได้แก่ พื้นที่ส่วนบุคคล ราชการ สถาบันการศึกษา ศาสนสถาน
หรือ เอกชน โดยจะต้องด าเนินการเก็บข้อมูลพื้นที่สีเขียว มีแผน/แนวทางในการ
พัฒนา มีการส่งเสริม/สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่สีเขียว และรายงานผลการ
ด าเนินงาน
เกณฑ์ที่ 6 การพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจ เป็นพื้นที่ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับเจ้าของพื้นที่ เช่น พื้นที่เกษตร สวนผลไม้
ชุมชน สวนป่า หรือพื้นที่วนเกษตร โดยจะต้องด าเนินการเก็บข้อมูลพื้นที่สีเขียว มีแผน/
แนวทางในการพัฒนา มีการส่งเสริม/สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่สีเขียว และรายงาน
ผลการด าเนินงาน
เกณฑ์ที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพพื้นที่สีเขียว เป็นการลดความร้อนของเมือง โดยควรมีพื้นที่การปกคลุมของเรือนยอดไม่น้อยกว่า
เพื่อบรรเทาความร้อนของเมือง ร้อยละ 40 ของพื้นที่
เกณฑ์ที่ 8 การลดมลพิษและเพิ่มคุณภาพ เป็นการเก็บข้อมูลการดูดซับก๊าซ CO2 ของพื้นที่สีเขียวทั้งหมด มีการฝึกอบรมการ
อากาศ ค านวณการลดก๊าซ CO2 เก็บข้อมูล เผยแพร่ข้อมูล และมีค่าเฉลี่ยการดูดซับก๊าซ
CO2 ไม่น้อยกว่า 1.2 ตัน/ไร่/ปี (ต่อพื้นที่สีเขียวรวมทั้งหมด)
เกณฑ์ที่ 9 การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชท้องถิ่นของ ส่งเสริมการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยควร
ไทย มีจ านวนชนิดพรรณไม้ พื้นถิ่นของไทยร้อยละ 60 จากพรรณไม้ทั้งหมดที่ส ารวจ โดย
สืบค้นพรรณไม้ได้จากเว็บไซต์ http://www.dnp.go.th/botany/index.html
หรือhttp://www.dnp.go.th/botany/mplant/index.aspx
เกณฑ์ที่ 10 การเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่สีเขียว ส่งเสริมให้พื้นที่สีเขียวที่มีอยู่ เกิดการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ไม่ถูกปล่อยร้าง มี
กิจกรรมที่หลากหลาย โดยมีผู้เข้าใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 20% ของจ านวน
ประชากร/ปี
เกณฑ์ที่ 11 การด าเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริม มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พัฒนา และเพิ่มพื้นที่สีเขียว 5 กิจกรรม เช่น การ
การอนุรักษ์ พัฒนา และเพิ่มพื้นที่สีเขียว อนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ที่มีอยู่เดิม การปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในพื้นที่ การส ารวจจัดท าข้อมูล
พื้นที่สีเขียว การให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลรักษาพื้นที่สีเขียว หรือการ
เพิ่มพื้นที่สีเขียว