Page 61 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 61

58





              เทคนิคความส าเร็จ
                       มีคู่มือเกณฑ์ แนวทางการเก็บข้อมูล แนวทางการด าเนิน พร้อมอบรม ให้ความรู้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงาน
              ด้านพื้นที่สีเขียว

                       ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ อปท. ให้ความส าคัญ มีนโยบายและแผนงาน งบประมาณที่ชัดเจน
                       มีเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ และรับผิดชอบงานด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว

                       มีระบบเก็บข้อมูล ติดตามผล รายงานพื้นที่สีเขียวที่มีประสิทธิภาพ สะดวก ใช้ง่าย
                       มีการบูรณาการการด าเนินงานระหว่างชุมชนในพื้นที่และ อปท.





              ชื่อเรื่อง (องค์ความรู้)  การพัฒนาเครื่องมือการเก็บข้อมูลเพื่อสนับสนุนการรักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง
              ผู้เขียน/ผู้จัดท า
                     นางสาวสุพรรณี  สุวรรณชาติ  นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช านาญการ
                     สังกัด ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม


              สาระส าคัญ
                     ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม ด าเนินโครงการการพัฒนาเครื่องมือการเก็บข้อมูลเพื่อสนับสนุนการรักษาและเพิ่ม

              พื้นที่สีเขียวในเมืองประจ าปีงบประมาณ 2562 โดยมีแนวทางสนับสนุนการรักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง
              6 ประเด็น หลัก ได้แก่ (1) ส่งเสริมการเพาะกล้าไม้ (2) ส่งเสริมการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว (3) ส่งเสริมการรักษา
              พื้นที่สีเขียวในเมือง (4) การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านพันธุ์ไม้ วิธีการเพาะกล้า การปลูก และการรักษาที่เหมาะสมกับ
              บริบทพื้นที่ (5) สร้างและขยายความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการเพิ่มพื้นที่สี เขียวในเมืองด้วยรูปแบบและวิธีการ

              ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และ (6) สร้างการรับรู้ถึงความส าคัญของพื้นที่สีเขียวในเมือง ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้งใน
              ส่วนกลางและท้องถิ่นสามารถเชื่อมโยงข้อมูลพื้นที่สีเขียวในเมืองที่มีการบ ารุงรักษาอยู่ในปัจจุบัน และ พื้นที่สีเขียวที่ควร
              ต้องมีการบ ารุงรักษา รวมทั้ง สามารถเชื่อมโยงข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่มีการปลูกเพิ่มเติม และพื้นที่ที่สามารถปลูกต้นไม้
              เพิ่มเติมได้ ตลอดจนแหล่งเพาะกล้าไม้ที่มีการด าเนินการอยู่ และ ที่ควรมีการด าเนินการเพิ่มเติม ซึ่งการรวบรวมข้อมูล

              ดังกล่าวจะส่งผลให้การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองของประเทศมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น

              วัตถุประสงค์
                     เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้งในส่วนกลางและท้องถิ่นสามารถรายงานข้อมูลพื้นที่สีเขียวในเมืองของตน ได้แก่ พื้นที่ที่มี

              การบ ารุงรักษาอยู่ในปัจจุบัน และพื้นที่สีเขียวที่ควรต้องมีการบ ารุงรักษาและปลูกเพิ่มเข้าสู่ระบบรายงาน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66