Page 53 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 53
1. การค้าภายในประเทศ ชุมชนต่าง ๆ ของอาณาจักรสุโขทัยตั งอยู่ตามลําน ํา มีการติดต่อกัน โดย
อาศัยเส้นทางคมนาคมทั งทางบกและทางน ํา
1) ทางบก มีทางเดินหรือถนนขนาดเล็กเชื่อมต่อระหว่างเมือง
2) ทางน้ า มีทางน ําที่สําคัญ คือ แม่น ํายม แม่น ําน่าน แม่น ําปิง สาขาของแม่น ําเหล่านี
ปรากฏหลักฐานตามเมืองต่าง ๆ ที่ตั งอยู่ริมฝั่งแม่น ําดังกล่าวมีโบราณสถาน โบราณวัตถุสมัยสุโขทัย ปรากฏอยู่
เช่น เมืองนครชุม (อยู่ในจังหวัดกําแพงเพชร) เมืองกําแพงเพชร เมืองตาก เมืองพระบาง (นครสวรรค์) ในลุ่ม
น ําปิง เมืองทุ่งยั ง และเมืองฝาง (อยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์) ในลุ่มน ําน่าน
แม้ว่าการติดต่อค้าขายระหว่างเมืองต่าง ๆ จะทําได้ทั งทางบกและทางน ํา แต่ส่วนมากมักใช้ เส้นทาง
ทางบก เพราะสามารถเดินทางได้สะดวกกว่า เส้นทางที่สําคัญ คือ แนวคันดินที่เรียกว่า ถนนพระร่วง ซึ่งมี 2
สาย คือ สายเหนือ จากกรงสโขทัยถึงเมืองศรีสัชนาลัย และสายใต้ จาก เมืองกําแพงเพชรถึงกรุงสุโขทัย
2. การค้ากับต่างประเทศ สมัยสุโขทัยมีการค้าขายกับจีน ญี่ปุ่น มลายู ชวา บอร์เนียว หมู่เกาะ
ฟิลิปปิน อินเดีย ลังกา อิหร่าน และอาหรับชาติอื่น ๆ โดยใช้เส้นทางในการติดต่อค้าขาย ดังนี
1) ทางบก มีเส้นทางที่สําคัญ 3 เส้นทาง ได้แก่
เส้นทางบก
เส้นทางสุโขทัย-เมาะตะมะ จากกรุง เส้นทางสุโขทัย-ตะนาวศรี จากกรุง เส้นทางสุโขทัย-เชียงใหม่ จาก กรุง
สุโขทัยไปถึงเมืองกําแพงเพชร สุโขทัยผ่านเมืองเพชรบุรี กุยบุรี สุโขทัยผ่านเมืองตาก ลําพูน ไปยัง
จากนั นมีเส้นทางผ่านเมืองตาก ตัด มะริด จนถึงตะราวศรี เมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นศูนย์กลางของ
ออกช่องเขาที่แม่สอด ผ่านเมือง อาณาจักรล้านนา
เมียวตีไปยังเมืองเมาะตะมะ ที่เมือง
นี พ่อค้าสุโขทัยจะติดต่อค้าขายกับ
พ่อค้าจากทางตะวันตก เช่น อาหรับ
เปอร์เซีย อินเดีย
2) ทางน้ า มีเส้นทางที่สําคัญ คือ เส้นทางกรุงสุโขทัย-อ่าวไทย เริ่มต้นจากกรุงสุโขทัย ล่องเรือ
มาตามแม่น ําเจ้าพระยาและลําน ําสาขา ผ่านอยุธยาไปออกอ่าวไทย เส้นทางนี สุโขทัยสามารถ ติดต่อค้าขายกับ
พ่อค้าจากดินแดนทางใต้และตะวันออก เช่น มลายู ชวา จีน ญี่ปุ่น
อาณาจักรสุโขทัยทําหน้าที่เป็นตลาดกลางขนถ่ายสินค้าจากเมืองที่ตั งอยู่นอกเส้นทางโดยรับ และส่ง