Page 181 - การเป็นผู้ประกอบการ_Neat
P. 181
175
เงินสมทบ
สิทธิประโยชน์ สิทธิจะได้รับ
ลูกจ้าง นายจ้าง รัฐบาล
1. ประสบ การบริการทางการแพทย์จนสิ้นสุดการรักษารวมการบําบัด
อันตราย ทดแทนไตกรณีไตวาย เรื้อรังระยะสุดท้ายปลูกถ่ายไขกระดูก
เจ็บป่วย เปลี่ยนอวัยวะกระจกตา อวัยวะและอุปกรณ์
2. ทุพพลภาพ (0.5%) (0.5%) (0.5%) • ค่ารักษาพยาบาลนเงินทดแทนรายได้
75 75 75 • ค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ทุพพลภาพทาง
ร่างกาย จิตใจ และอาชีพไม่เกิน 40,000 บาทต่อราย
3. ตาย ค่าทําศพ 40,000 บาท + เงินสงเคราะห์กรณีตาย
4. คลอดบุตร ค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 13,000 บาทต่อครั้งและเงิน
สงเคราะห์ การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรมีสิทธิคนละไม่
เกิน 2 ครั้ง
5. สงเคราะห์บุตร 450 450 300 บุตรอายุน้อยกว่า 6 ปี จํานวน 400 บาทต่อคนต่อเดือน
ชราภาพ (3%) (3%) (3%) คราวละไม่เกิน 2 คน
• อายุครบ 55 ปี และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง สมทบ
ไม่ครบ 180 เดือน
• อายุครบ 55 ปี และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง สมทบ
ตั้งแต่ 180 เดือนขึ้นไป มีสิทธิได้รับบํานาญ
6. การว่างงาน 75 75 75 • เลิกจ้าง-เงินทดแทน 50% ของค่าจ้างที่ใช้เป็นฐานในการ
(0.5%) (0.5%) (0.5%) คํานวณเงิน | 375 | สมทบ ปีละไม่เกิน 180 วัน (0.2596)
• ลาออก -เงินทดแทน 30% ของค่าจ้างที่ใช้เป็นฐานในการ
คํานวณเงินสมทบ ปีละไม่เกิน 90 วัน
รวม 600 600 412.5
1. จํานวน 450 บาท เป็นเงินสมทบกรณีชราภาพ ซึ่งเป็น “การออมเพื่อเกษียณ” มีนายจ้าง
ช่วยอีก450 บาท เงินนี้ลูกจ้างจะได้รับคืนแน่นอน โดยจะได้รับเป็นบําเหน็จหรือบํานาญชราภาพหลังเกษียณ
2. จํานวน 75 + 75 = 150 บาท ถูกหักเพื่อการคุ้มครองกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
ทุพพลภาพ ตาย อันมิใช่เนื่องจากการทํางาน คลอดบุตร และว่างงาน เงินสมทบในส่วนนี้เปรียบเสมือน การ
จ่ายเบี้ยประกัน หากลูกจ้างไม่ได้ใช้สิทธิกรณีใดเลย