Page 155 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 155
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๔๓
การผลักภาระไปให้กลุ่มคนวัยใดวัยหนึ่ง จากกรณีดังกล่าวคณะกรรมาธิการได้สรุปผลการศึกษาในเรื่องนี้อีก
เป็นประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
ื่
ิ่
๑. การจัดการศึกษาเพอเสริมทักษะจ าเป็นส าหรับผู้สูงอายุ และสร้างกลไกเพมเติมในการ
ให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุจากสถานการณ์ผู้สูงอายุในปัจจุบัน
๑) การจัดการศึกษาของผู้สูงอายุ พบว่าในปัจจุบันรูปแบบการจัดการศึกษาส าหรับผู้สูงอายุ
อยู่ในรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบ (ตามความพร้อมของท้องถิ่นหรือชุมชน) แต่การจัดการศึกษา
ิ่
ในระบบหรือในหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไม่มี โดยเห็นว่ากระทรวงศึกษาธิการต้องเพม
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาส าหรับผู้สูงอายุในอนาคตเพิ่มเติมอีกส่วนหนึ่งด้วย
๒) ภาครัฐจะต้องมีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมสนับสนุนหรือสร้างเครื่องมือ
ื่
เพอส่งเสริมสนับสนุนงานด้านการศึกษาตามความต้องการ ความจ าเป็น หรือเพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง
ตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและช่วงวัยของผู้สูงอายุ โดยการเสริมสร้างในสิ่งที่ผู้สูงอายุยังไม่รู้
ให้ได้รู้ตามความสนใจ และการสร้างเสริมสิ่งที่มีอยู่แล้วในตัวผู้สูงอายุที่มีอยู่แล้วให้คงอยู่และเพิ่มเติมมากขึ้น
๓) มีกระบวนการเทียบโอนคุณวุฒิของผู้สูงอายุที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน และ
ื่
ด้านวิชาชีพ เพอประโยชน์ในการก าหนดคุณค่าของงานและก าหนดค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เหมาะสมกับ
ความรู้ ความสามารถ และเป็นประโยชน์ในการเปลี่ยนแปลงสายอาชีพของผู้สูงอายุในอนาคต
๔) มีการปรับปรุงหรือเพมเติมบทบาทภารกิจหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐที่มีอยู่แล้วให้
ิ่
คลอบคลุมมากขึ้น เช่น ศูนย์ดิจิทัลชุมชน จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการเข้าถึงของผู้สูงอายุได้อย่างไร เพื่อการ
เข้าถึงสิทธิรวมถึงสวัสดิการต่าง ๆ จากภาครัฐ และการป้องกันภัยจากมิจฉาชีพที่มากับโลกยุคใหม่ รวมถึง
หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันผู้สูงอายุที่อาจถูกหลอกลวงเอาทรัพย์สิน
ที่เก็บออมมาทั้งชีวิตที่ถือเป็นเรื่องที่เจ็บปวดมากส าหรับสังคมในยุคนี้
๒. การปรับปรุงกฎหมาย เครื่องมือ หรือกลไกในการท างาน และการบริหารจัดการเพอพฒนา
ั
ื่
ศักยภาพผู้สูงอายุ
๑) การแก้ไขเพมเติมพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่กระทรวงการพฒนาสังคม
ิ่
ั
และความมั่นคงของมนุษย ก าลังเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงและเข้ากับสถานการณ์
์
ผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงไปรวดเร็วมากในปัจจุบันนี้ (กรณีนี้คณะกรรมาธิการจะไม่พิจารณาลงในรายละเอียด
เนื่องจากจะเป็นการซ้ าซ้อนกับการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร)
ิ
๒) การจัดสวัสดิการที่เหมาะสม (กรณีนี้คณะกรรมาธิการจะไม่พจารณาลงในรายละเอียด
เนื่องจากจะเป็นการซ้ าซ้อนกับการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร)
๓) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
และกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ต้องมีการออกแบบกระบวนการจัดการส าหรับ
ั
ั
ผู้สูงอายุเมือง และการดูแลผู้สูงอายุในท้องถิ่นต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกัน และศูนย์พฒนาคุณภาพชีวิต
ั
และส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จะต้องมีบทบาทต่อการพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกมิติ และมีการขยาย
ให้ครอบคลุมไปถึงในระดับต าบล และการก าหนดไว้ในข้อกฎหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่
บริหารจัดการข้อมูลด้านผู้สูงอายุในท้องถิ่น
๔) กฎหมายทุกฉบับต้องค านึงถึงผู้สูงอายุ และการจัดสรรงบประมาณจะต้องเหมาะสม
ส าหรับคนทุกช่วงวัย