Page 156 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 156

หน้า ๑๔๔                                                                             ส่วนที่ ๓



                             ๕) หน่วยงานท้องถิ่นพบปัญหาแต่ไม่สามารถด าเนินการช่วยเหลือผู้สูงอายุได้ทั้งที่มีงบประมาณ

               ในการด าเนินการและเข้าใจปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างดี แต่ท าได้เพียงแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง
               (ราชการส่วนกลาง) ที่มีหน้าที่ด าเนินการตามกฎหมาย และหากด าเนินการใด ๆ ไปจะถูกส านักงานการตรวจเงิน

               แผ่นดินทักท้วงว่าไม่ใช่ภารกิจโดยตรงและอาจถูกเรียกเงินคืนได้ ควรมีการอุดช่องว่างของกฎหมายให้
               องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเข้าไปให้การช่วยเหลือผู้สูงอายุได้ ทั้งในส่วนของภารกิจที่ยังไม่ได้รับ
               การถ่ายโอนมาจากราชการส่วนกลาง เช่น การปรับปรุงหรือการสร้างที่อยู่อาศัยให้ผู้สูงอายุที่ยากไร้ และ

                                                                             ื่
               กระบวนการดูแลคุ้มครองผู้สูงอายุ รวมถึงกิจกรรมส่งเสริมอื่น ๆ เพอลดปัญหาด้านสุขภาพทั้งทางด้าน
               ร่างกายและจิตใจ

                             ๖) ในกลุ่มผู้สูงอายุไร้สัญชาติพบกว่าผู้สูงอายุที่มีภูมิล าเนาต่อเนื่องในประเทศไทย ๓๐ ถึง
               ๖๐ ปี ผสมกลมกลืนกับสังคมไทยมีภรรยา สามี ลูกหลานเป็นคนสัญชาติไทย แต่ไม่สามารถใช้สิทธิ์ ขอแปลง
               สัญชาติได้เพราะถือบัตรผู้ไม่มีสัญชาติไทย (บัตรเลข ๖) จ านวน ๕๕,๒๖๔ ราย และถือบัตรผู้ไม่มีสถานะ

               ทางทะเบียน (๐ กลุ่ม ๘๙) ๑๕,๔๖๒ ราย แต่ไม่เข้าเกณฑ์คุณสมบัติการมีภูมิล าเนาต่อเนื่องในประเทศไทย
               ตามมาตรา ๑๐ (๔) ของพระราชบัญญัติสัญชาติซึ่งก าหนดให้ใช้หลักฐานใบส าคัญถิ่นที่อยู่ ใบส าคัญ

               ประจ าตัวคนต่างด้าว หรือการมีชื่อในทะเบียนบ้านประเภท ทร. ๑๔
                             ๗) พบประเด็นปัญหาการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุกรณีที่มีสิทธิรับสวัสดิการอย่างอื่น
               จากรัฐต่อมามีการเรียกเก็บเงินคืนราชการ ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนต่อประชาชนที่ต้องไปหาเงินรวมไปถึง

                                                                        ี
               การไปกู้ยืมเงินเพื่อมาคืนให้กับภาครัฐ แต่เนื่องจากมีรายได้ไม่เพยงต่อต่อค่าใช้จ่าย และเบี้ยยงชีพผู้สูงอายุ
                                                                                                 ั
               ที่ได้รับก็ใช้จ่ายไปหมดแล้ว ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนต่อผู้สูงอายุอันเนื่องมาจากภาครัฐก าหนดเงื่อนไข
                                                             ์
               การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไม่ชัดเจนและหลักเกณฑที่ก าหนดในการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุออกโดยไม่ได้
               ค านึงถึงสภาพความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุที่แท้จริงว่าผู้สูงอายุมีรายได้มีเพียงพอต่อการด ารงชีพหรือไม่ ส่งผล

               ให้มีการร้องเรียนไปยังรัฐบาลและรัฐบาลได้มีมติคณะรัฐมนตรีออกมาโดยอนุมัติหลักการคืนเบี้ยยังชีพให้กับ
               ผู้สูงอายุที่ได้น าเงินมาคืนทางราชการแล้ว และถอนฟ้องให้กับผู้สูงอายุที่เหลือเพื่อเป็นการทุเลาปัญหาให้กับ
                                                  ั
                                                                                               ิ
               ผู้สูงอายุ และได้มอบให้กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์น าเรื่องนี้ไปพจารณาก าหนด
               นโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุต่อคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติพิจารณาต่อไป
                           ๓. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการด ารงชีวิตในปัจจุบันของผู้สูงอายุ

                             ๑) การบริการด้านสาธารณสุขตามวัย (สุขภาพ) การออมสุขภาพเพอเตรียมความพร้อม
                                                                                          ื่
               ในแต่ละช่วงวัย จะมีมาตรการในการด าเนินการในเรื่องนี้อย่างไร รวมถึงการจัดให้มีหน่วยงานที่มีหน้าที่
               รับผิดชอบโดยตรง ซึ่งหากละเลยประเทศไทยจะเต็มไปด้วยผู้สูงอายุที่สุขภาพไม่ดีเป็นภาระต่องบประมาณ

               และกระบวนการจัดการด้านสาธารณสุขตามข้อ ๔ ได้
                             ๒) การบริการด้านเศรษฐกิจระดับความเป็นอยู่ การเปลี่ยนแปลงอาชีพ บางอาชีพในอนาคต

                                                                               ึ่
               อาจสูญหายไปไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน บางอาชีพที่ไม่ต้องการพงพาประสบการณ์หรือทักษะอาชีพ
                                                        ิ่
               เพราะมีเทคโนโลยีมาทดแทน จะต้องมีการเพมทักษะอื่น ๆ มาทดแทน การวางแผนทางการเงิน การออม
               เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู้การเป็นผู้สูงอายุ

                             ๓) การจัดการด้านที่อยู่อาศัย ทั้งในส่วนที่อยู่อาศัยบุคคลและสาธารณะทั้งภาครัฐและเอกชน
               การให้ความรู้ที่ถูกต้องกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการออกแบบและการสร้าง เพอลดปัจจัยเสี่ยง
                                                                                              ื่
               ที่จะเป็นผู้สูงอายุที่ต้องพงพง และขณะเดียวกันการใช้ชีวิตประจ าวันของผู้สูงอายุจะสะดวกขึ้นท าให้ผู้สูงอายุ
                                     ึ่
                                       ิ
               มีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่รู้สึกเบื่อหน่ายในการออกมาใช้ชีวิตร่วมกับคนในวัยอื่น ๆ และไม่เป็นภาระคนวัยอื่น
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161