Page 161 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 161

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๔๙



                                         พิจารณาข้อเสนอแนะต่อการแก้ไข ปรับปรุง

                             พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
               ทางเพศ ได้พิจารณาข้อเสนอแนะต่อการแก้ไข ปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

                                                                                     ิ
               พ.ศ.๒๕๕๐ ที่นางสาวเสาวลักษณ์  ทองก๊วย นายกสมาคมส่งเสริมศักยภาพสตรีพการเป็นผู้ร้อง โดยให้เหตุผล
               กฎหมายดังกล่าวเลือกปฏิบัติต่อสตรีพิการและเด็กพการ ถูกมองว่าไร้ตัวตนทั้งทางด้านกฎหมายที่ไม่ได้กล่าวถึง
                                                            ิ
                    ิ
               คนพการที่มีมิติด้านเพศ อายุ และอัตลักษณ์ซ้อนทับอื่น ๆ ส่วนพนที่ทางสังคมนั้นถูกควบคุมการตัดสินใจ
                                                                         ื้
               เรื่องที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของตัวเองโดย พ่อ แม่ หรือสมาชิกครอบครัว และโครงสร้างสังคมชายเป็นใหญ่แม้ในชุมชน
                    ิ
               คนพการเอง ดังนั้น การละเมิดด้วยเหตุต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นเป็นประจ าและไร้ที่พง รวมถึงสถานการณ์ความรุนแรง
                                                                                 ึ่
               ต่อเด็กและผู้หญิงพิการที่เพิ่มมากขึ้น โดยไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้
                           ผลจากการละเลยดังกล่าว จึงเกิดเป็นแนวคิดในการท าวิจัยและค้นหาสถานการณ์ขึ้น โดยใช้
               กลุ่มตัวอย่างจากสตรีพการและเด็กพการจากครอบครัว จ านวน ๕๑ ตัวอย่าง ใน ๒๙ จังหวัด พบว่า
                                     ิ
                                                  ิ
               เป็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวจากบุคคลในครอบครัว โดยมีบุคคลในพื้นที่ บุคคลรอบข้างหรือ
               หน่วยงานราชการในท้องถิ่นรับทราบแต่ไม่ปฏิบัติเพอแก้ไขหรือยุติปัญหาที่เป็นรูปธรรมได้ และยังค้นพบอีกว่า
                                                           ื่
               สตรีพิการและเด็กพิการที่ถูกกระท าความรุนแรงสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้เพียงร้อยละ ๒๗.๕
               ของผู้ที่ถูกกระท าความรุนแรงและที่ไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมถึงร้อยละ ๗๒.๕ ของผู้ที่ถูก
               กระท าความรุนแรง ซึ่งในส่วนที่เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมร้อยละ ๒๗.๕ ของผู้ที่ถูกกระท าความรุนแรง

               ไม่ได้สิ้นสุดกระบวนการยุติธรรมทั้งหมดและผู้ที่กระท าความผิดยังมีอิทธิพลอยู่ในพนที่ จากสถานการณ์
                                                                                          ื้
               ดังกล่าวข้างต้นท าให้ต้องทบทวนถึงสาเหตุ พบว่า สาเหตุหลักมาจากการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่ได้เอื้อให้

               กลไกการท างานที่ไปพร้อมกับการสร้างการตระหนักรู้ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดกับกลุ่มคน
               เปราะบางด้วย ซึ่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพมเติม
                                                         ั
                                                                            ิ
                                                                                                        ิ่
               (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ไม่ครอบคลุมมิติทางเพศก าเนิดหญิง ชาย เพศสภาพและอายุ โดยปราศจาก
                                ิ
               การกล่าวถึงสตรีพการในทุกมิติ และพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว เพอให้
                                                                                                        ื่
               สอดคล้องกับการเข้าเป็นรัฐภาคีกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการถึงแม้ว่าจะถูกปรับปรุงแก้ไขมาหลายครั้ง
               ก็ตามแต่เป็นการปรับปรุงแก้ไขในประเด็นที่เกี่ยวกับการบริการไม่ใช่การปรับปรุงแก้ไขในเรื่องสิทธิความเป็น
                                           ิ
                                                                     ั
               พลเมือง เช่น การบัญญัติความพการไว้ ๗ ประเภท ซึ่งขัดกับพนธะกรณีระหว่างประเทศและอนุสัญญาว่าด้วย
               สิทธิของคนพิการที่ไม่ได้ระบุถึงความพิการแค่ ๗ ประเภทเท่านั้น แต่ยังได้ระบุความพการด้านอื่น ๆ ที่ไม่สามารถ
                                                                                      ิ
               มองเห็นด้วยตาเปล่า เช่น คนพิการทางจิต
                                                                ิ
                                                                                               ิ
                           กรมส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ ได้ร่วมมือกับเครือข่ายสตรีพการจัดท าแผน
                                            ั
               ยุทธศาสตร์การพฒนาสตรีพการ และมีการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ไม่สามารถ
                                         ิ
                               ั
               ยกระดับการเข้าถึงสิทธิเหมือนพลเมืองทั่วไป ยุติความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศ
               และการเข้าถึงกระบวนการยุติความรุนแรงของเด็กหญิงและสตรีพการ เนื่องจากนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ
                                                                           ิ
                                                                                       ิ
               คนพการจ ากัดสิทธิสตรีพิการและเด็กหญิงพิการส่งผลให้สตรีพการและเด็กหญิงพการถูกกีดกัน จ ากัดสิทธิ
                    ิ
                                                                      ิ
               การเข้าถึงทรัพยากรและแหล่งทุน การถูกกีดกันจ ากัดสิทธิและโอกาสการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ
               ระดับนโยบายที่ส่งผลกระทบต่อสตรีพิการและเด็กพิการ การถูกจ ากัดสิทธิในการรวมกลุ่มการสมาคมและ
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166